ชื่อมงคลลำดับที่ 801-900
ชื่ออ่านว่าเพศ
กอบธนัช กอบ-ทะ-นัด ชาย
กอบปุญญ กอบ-ปุน หญิง
กอบวริทธิ์ กอบ-วะ-ริด ชาย
กอบสกล กอบ-สะ-กน หญิง
กอบสุข กอบ-สุก หญิง
กอบุญญา กอบ-บุน-ยา หญิง
ก่อบุญญา ก่อ-บุน-ยา หญิง
ก่อพงศ์ ก่อ-พง ชาย
ก้อย ก้อย หญิง
ก่อฤกษ์ ก่อ-เริก ชาย
ก่อลาภ ก่อ-ลาบ ชาย
ก่อศิลป์ ก่อ-สิน หญิง
ก่ออมร ก่อ-อะ-มอน ชาย
ก่อ ก่อ ชาย
กังวาล กัง-วาน หญิง
กังสดาล กัง-สะ-ดาน หญิง
กัชชลา กัด-ชะ-ลา หญิง
กัญกรณ์ กัน-ยะ-กอน หญิง
กัญกรม กัน-ยะ-กรม หญิง
กัญกฤตา กัน-ยะ-กริ-ตา หญิง
กัญคุณ กัน-ยะ-คุน หญิง
กัญจณียา กัน-จะ-นี-ยา หญิง
กัญจน์กมล กัน-กะ-มน หญิง
กัญจน์กฤศชญา กัน-กริด-ชะ-ยา หญิง
กัญจน์จิรา กัน-จิ-รา หญิง
กัญจน์ชญา กัน-ชะ-ยา หญิง
กัญจน์ชลิตา กัน-ชะ-ลิ-ตา หญิง
กัญจน์ชุตา กัน-ชุ-ตา หญิง
กัญจน์ญาณิชา กัน-ยา-นิ-ชา หญิง
กัญจน์ฐานิต กัน-ถา-นิด หญิง
กัญจน์ณภัส กัน-นะ-พัด หญิง
กัญจนณัฏฐ์ กัน-จะ-นะ-นัด หญิง
กัญจน์ณัฏฐ์ กัน-จะ-นัด หญิง
กัญจน์ณัฐชนก กัน-นัด-ชะ-นก หญิง
กัญจน์ณัฐ กัน-จะ-นัด หญิง
กัญจน์ณิชา กัน-นิ-ชา หญิง
กัญจน์ติพัชญ์ กัน-ติ-พัด หญิง
กัญจน์ติมา กาน-ติ-มา หญิง
กัญจน์นภัส กัน-นะ-พัด หญิง
กัญจน์นิพิฐ กัน-นิ-พิด ชาย
กัญจนพร กัน-จะ-นา-พอน หญิง
กัญจน์ภูมิ กัน-จะ-พูม ชาย
กัญจน์รณพร กัน-รน-นะ-พอน หญิง
กัญจน์รัชต์ กัน-จะ-รัด หญิง
กัญจนวัชร กัน-จะ-นะ-วัด ชาย
กัญจน์วิภา กัน-วิ-พา หญิง
กัญจน์วิมล กัน-วิ-มน หญิง
กัญจน์วิรุฬห์ กัน-วิ-รุน หญิง
กัญจน์อมร กัน-อะ-มอน หญิง
กัญจน์อมล กัน-อะ-มน หญิง
กัญจนา กัน-จะ-นา หญิง
กัญจนานุช กัน-จะ-นา-นุด หญิง
กัญจนาพร กัน-จะ-นา-พอน หญิง
กัญจนี ักัน-จะ-นี หญิง
กัญจน์ กัน หญิง
กัญจพร กัน-จะ-พอน หญิง
กัญจภรณ์ กัน-จะ-พอน หญิง
กัญจร กัน-ยะ-จอน หญิง
กัญจิญา กัน-จิ-ยา หญิง
กัญจิรานนท์ กัน-จิ-รา-นน หญิง
กัญชกช กัน-ชะ-กด หญิง
กัญชญา กัน-ชะ-ยา หญิง
กัญชนัฐสรณ์ กัน-ยะ-ชะ-นัด-สอน หญิง
กัญชพร กัน-ชะ-พอน หญิง
กัญชม กัน-ชม หญิง
กัญชริญา กัน-ชะ-ริ-ยา หญิง
กัญชลา กัน-ชะ-ลา หญิง
กัญชอร กัน-ชะ-ออน หญิง
กัญชิญา กัน-ชิ-ยา หญิง
กัญชิตา กัน-ชิ-ตา หญิง
กัญเชษฐ์ กัน-ยะ-เชด หญิง
กัญญกร กัน-ยะ-กอน หญิง
กัญญ์กุลณัช กัน-กุน-ละ-นัด หญิง
กัญญ์ชนรัตน์ กัน-ชะ-นะ-รัด หญิง
กัญญ์ชนุตต์ กัน-ชะ-นุด หญิง
กัญญ์ชยาวีร์ กัน-ชะ-ยา-วี หญิง
กัญญ์ชิสา กัน-ชิ-สา หญิง
กัญญ์ฐญา กัน-ถะ-ยา หญิง
กัญญ์ณณัฎฐ์ กัน-นะ-นัด หญิง
กัญญ์ณณัฏฐ์ กัน-นะ-นัด หญิง
กัญญ์ณณัฐ กัน-ระ-นัด หญิง
กัญญ์ณพิช กัน-นะ-พิด หญิง
กัญญ์ณภูรี กัน-นะ-พู-รี หญิง
กัญญ์ณรัณ กัน-นะ-รัน หญิง
กัญญณัช กัน-ยะ-นัด หญิง
กัญญณัฎฐ์ กัน-ยะ-นัด หญิง
กัญญ์ณัฏฐ์ณดา กัน-นัด-นะ-ดา หญิง
กัญญ์ณัฏฐ์ธาดา กัน-ยะ-นัด-ทา-ดา หญิง
กัญญณัฐ กัน-ยะ-นัด หญิง
กัญญดา กัน-ยะ-ดา หญิง
กัญญ์ดา กัน-ดา หญิง
กัญญ์ธนัญ กัน-ทะ-นัน หญิง
กัญญ์ธิดา กัน-ทิ-ดา หญิง
กัญญนรินทร์ กัน-ยะ-นะ-ริน หญิง
กัญญ์นลิน กัน-นะ-ลิน หญิง
กัญญ์ปภัส กัน-ปะ-พัด หญิง
กัญญ์ปวิชญา กัน-ปะ-วิด-ชะ-ยา หญิง
กัญญ์พชิรา กัน-พะ-ชิ-รา หญิง
กัญญพัชร กัน-ยะ-พัด หญิง
กัญญพัฒน์ กัน-ยะ-พัด หญิง
เมนูดูดวงแบบต่างๆ

เป็นการดูดวงโดยอาศัยตำแหน่งของดวงดาวบนท้องฟ้า โหราศาสตร์ไทยเป็นโหราศาสตร์ชั้นสูงของไทยโดยพัฒนามาจากโหราศาสตร์ของอินเดียในสมัยกรุงสุโขทัย และได้พัฒนาต่อยอดตามลำดับจนถึงปัจจุบัน

เป็นการดูดวงโดยอาศัยตำแหน่งของลัคนาและพระจันทร์ในการพยากรณ์ การพยากรณ์ด้วยฤกษ์นั้นเป็นการคำนวณขั้นสูง ที่จะหาราศีและองศาของลัคนาเพื่อที่จะคำนวณฤกษ์ของลัคนา ส่วนฤกษ์ดาวจันทร์นั้นก็ต้องคำนวณราศีและองศาของพระจันทร์เช่นเดียวกัน

การดูดวงด้วยกราฟชีวิตเป็นการดูดวงโดยใช้วันเดือนปีเกิดเป็นสำคัญและใช้เวลาเกิดเพื่อหาวันเดือนปีเกิดที่ถูกต้อง การดูดวงด้วยกราฟชีวิตจะแบ่งภพออกเป็น 12 ภพเช่นเดียวกับโหราศาสตร์ไทยแต่ใช้วันเดือนปีเกิดเพื่อหาเลขประจำฐานทั้ง 12 แทนตำแหน่งของดาวในราศีจักร

เศษพระจอมเกล้าหรือการทายเศษชะตากำเนิดนี้ ว่ากันว่าเป็นตำราดูดวงที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวดำริขึ้น เป็นการพยากรณ์ด้วยวิธีง่าย ๆ แต่มีความแม่นยำมากวิธีหนึ่ง

การวิเคราะห์ชื่อนี้ จะใช้ทักษา เลขศาสตร์ และอายตนะ ๖ ในการวิเคราะห์ชื่อ

การวิเคราะห์ชื่อด้วยตุ๊กตาไขนามเป็นการวิเคราะห์ชื่อได้ดีวิธีหนึ่ง เป็นการนำศาสตร์การตั้งชื่อของมอญในสมัยโบราณมาประยุกต์ใช้สำหรับการวิเคราะห์ชื่อและพยากรณ์ชื่อนั้นๆจะมีผลต่อชะตาชีวิตแก่เจ้าของชะตาอย่างไร

การดูดวงด้วยตำราโยคไก่แก้ว เป็นการดูโชคเคราะห์ประจำปี ว่าในปีนี้มีโชคเคราะห์อะไรบ้าง อีกทั้งได้แบ่งย่อยอายุเป็นสามช่วง ช่วงละ 4 เดือนทำให้ทั้งปีชะตาไม่ได้ร้ายทั้งปี หรือเสียทั้งปี

การดูดวงด้วยเลขโหรา เป็นการโชคเคราะห์ประจำปี ว่าในปีนี้มีโชคเคราะห์อะไรบ้าง ถึงแม้จะไม่ได้แบ่งอายุออกเป็น 3 ช่วง เหมือนโยคไก่แก้ว แต่จะบอกวิธีทำบุญเพื่อลดเคราะห์ร้าย เพิ่มโชคดีในปีนั้น

เป็นตำราที่แม่นยำตำราหนึ่ง ซึ่งได้ใช้กันแพร่หลายเป็นอันมาก เดิมเป็นตำราของชาวยิปซี แล้วถูกถ่ายทอดเป็นภาษาอังกฤษ ตำราโอเรกุรัม เป็นตำราที่ไขความข้องใจของผู้รับคำพยากรณ์อย่างง่ายได้เป็นอันดี