ชื่อมงคลลำดับที่ 8801-8900
ชื่ออ่านว่าเพศ
พิมประภา พิม-ประ-พา หญิง
พิมพ์กชกร พิม-กด-ชะ-กอน หญิง
พิมพกานต์ พิม-พะ-กาน หญิง
พิมพ์กานต์ พิม-กาน หญิง
พิมพ์แก้ว พิม-แก้ว หญิง
พิมพ์จิตรา พิม-จิด-ตรา หญิง
พิมพ์ใจ พิม-ใจ หญิง
พิมพ์ชญาดา พิม-ชะ-ยา-ดา หญิง
พิมพ์ชญา พิม-ชะ-ยา หญิง
พิมพ์ชณก พิม-ชะ-นก หญิง
พิมพ์ชนก พิม-ชะ-นก หญิง
พิมพ์ชิตติณา พิม-พิด-ติ-นา หญิง
พิมพ์ญาดา พิม-ยา-ดา หญิง
พิมพ์ญาตา พิม-พา-ตา หญิง
พิมพ์ณดา พิม-นะ-ดา หญิง
พิมพ์ณัฐธยา พิม-นัด-ทะ-ยา หญิง
พิมพ์ณิภา พิม-นิ-พา หญิง
พิมพ์ดาว พิม-ดาว หญิง
พิมพ์ทอง พิม-ทอง หญิง
พิมพ์ธนภา พิม-ทะ-นะ-พา หญิง
พิมพ์ธัญญา พิม-ทัน-ยา หญิง
พิมพ์ธิตา พิม-ทิ-ตา หญิง
พิมพ์นรี พิม-นะ-รี หญิง
พิมพ์นาง พิม-นาง หญิง
พิมพ์นาราห์ พิม-นา-รา หญิง
พิมพ์นารา พิม-นา-รา หญิง
พิมพ์นารี พิม-นา-รี หญิง
พิมพ์นิภา พิม-นิ-พา หญิง
พิมพ์ปภัทร พิม-ปะ-พัด หญิง
พิมพ์ปภัสสร พิม-ปะ-พัด-สอน หญิง
พิมพ์ประภัทร์ พิม-ประ-พัด หญิง
พิมพ์ปวีณ์ พิม-ปะ-วี หญิง
พิมพ์ฝัน พิม-ฝัน หญิง
พิมพ์พจน์ พิม-พด หญิง
พิมพ์พจี พิม-พะ-จี หญิง
พิมพ์พณิต พิม-พะ-นิด หญิง
พิมพ์พนิต พิม-พะ-นิด หญิง
พิมพ์พรรณ พิม-พัน หญิง
พิมพ์พัชรา พิม-พัด-ชะ-รา หญิง
พิมพ์พัชรี พิม-พัด-ชะ-รี หญิง
พิมพ์พัฒน์ พิม-พัด หญิง
พิมพ์พาดา พิม-พา-ดา หญิง
พิมพ์พิชชา พิม-พิด-ชา หญิง
พิมพ์พิศา พิม-พิ-สา หญิง
พิมพ์พีรดา พิม-พี-ระ-ดา หญิง
พิมพ์ภัช พิม-พัด หญิง
พิมพ์ภัทร พิม-พัด หญิง
พิมพ์ภัทร์ พิม-พัด หญิง
พิมพ์ภัสดา พิม-พัด-สะ-ดา หญิง
พิมพ์ภากร พิม-พา-กอน หญิง
พิมพ์ภาดา พิม-พา-ดา หญิง
พิมพ์ภาพร พิม-พา-พอน หญิง
พิมพ์ภิญาดา พิม-พิน-ยา-ดา หญิง
พิมพ์ภูภรณ์ พิม-พู-พอน หญิง
พิมพ์มาฎา พิม-มา-ดา หญิง
พิมพ์มาดา พิม-มา-ดา หญิง
พิมพ์มาตา พิม-มา-ตา หญิง
พิมพ์มาศ พิม-มาด หญิง
พิมพ์มาส พิม-มาด หญิง
พิมพ์รชา พิม-ระ-ชา หญิง
พิมพ์รดา พิม-ระ-ดา หญิง
พิมพ์รตา พิม-ระ-ตา หญิง
พิมพ์รพัชร์ พิม-ระ-พัด หญิง
พิมพ์รวี พิม-ระ-วี หญิง
พิมพ์รัตน์ พิม-รัด หญิง
พิมพ์ลดา พิม-ละ-ดา หญิง
พิมพ์ลภัส พิม-ละ-พัด หญิง
พิมพลอย พิม-พลอย หญิง
พิมพ์ลิศา พิม-ลิ-สา หญิง
พิมพวดี พิม-พะ-วะ-ดี หญิง
พิมพ์วดี พิม-วะ-ดี หญิง
พิมพ์วรีย์ พิม-วะ-รี หญิง
พิมพ์วลัญช์ พิม-วะ-ลัน หญิง
พิมพ์วสา พิม-วะ-สา หญิง
พิมพ์วัชรา พิม-วัด-ชะ-รา หญิง
พิมพ์วัชรี พิม-วัด-ชะ-รี หญิง
พิมพวัลย์ พิม-พะ-วัน หญิง
พิมพ์วิภา พิม-วิ-พา หญิง
พิมพ์วิไล พิม-วิ-ไล หญิง
พิมพ์สร พิม-สอน หญิง
พิมพ์สิริ พิม-สิ-หริ หญิง
พิมพ์สุทธิปภา พิม-สุด-ทิ-ปะ-พา หญิง
พิมพ์สุภัค พิม-สุ-พัก หญิง
พิมพ์สุภา พิม-สุ-พา หญิง
พิมพ์อัปสร พิม-อับ-สอน หญิง
พิมพากร พิม-พา-กอน หญิง
พิมพิกา พิม-พิ-กา หญิง
พิมพิดา พิม-พิ-ดา หญิง
พิมพิพัฒน์ พิม-พิ-พัด หญิง
พิมพิศา พิม-พิ-สา หญิง
พิมพิสุทธิ์ พิม-พิ-สุด หญิง
พิมพ์ พิม หญิง
พิมฟ้า พิม-ฟ้า หญิง
พิมภวัลย์ พิม-พะ-วัน หญิง
พิมภากร พิม-พา-กอน หญิง
พิมมาดา พิม-มา-ดา หญิง
พิมล พิ-มน ชาย
พิมลกร พิ-มน-กอน หญิง
พิมลกรณ์ พิ-มน-กอน หญิง
พิมลกฤต พิ-มน-กริด ชาย
เมนูดูดวงแบบต่างๆ

เป็นการดูดวงโดยอาศัยตำแหน่งของดวงดาวบนท้องฟ้า โหราศาสตร์ไทยเป็นโหราศาสตร์ชั้นสูงของไทยโดยพัฒนามาจากโหราศาสตร์ของอินเดียในสมัยกรุงสุโขทัย และได้พัฒนาต่อยอดตามลำดับจนถึงปัจจุบัน

เป็นการดูดวงโดยอาศัยตำแหน่งของลัคนาและพระจันทร์ในการพยากรณ์ การพยากรณ์ด้วยฤกษ์นั้นเป็นการคำนวณขั้นสูง ที่จะหาราศีและองศาของลัคนาเพื่อที่จะคำนวณฤกษ์ของลัคนา ส่วนฤกษ์ดาวจันทร์นั้นก็ต้องคำนวณราศีและองศาของพระจันทร์เช่นเดียวกัน

การดูดวงด้วยกราฟชีวิตเป็นการดูดวงโดยใช้วันเดือนปีเกิดเป็นสำคัญและใช้เวลาเกิดเพื่อหาวันเดือนปีเกิดที่ถูกต้อง การดูดวงด้วยกราฟชีวิตจะแบ่งภพออกเป็น 12 ภพเช่นเดียวกับโหราศาสตร์ไทยแต่ใช้วันเดือนปีเกิดเพื่อหาเลขประจำฐานทั้ง 12 แทนตำแหน่งของดาวในราศีจักร

เศษพระจอมเกล้าหรือการทายเศษชะตากำเนิดนี้ ว่ากันว่าเป็นตำราดูดวงที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวดำริขึ้น เป็นการพยากรณ์ด้วยวิธีง่าย ๆ แต่มีความแม่นยำมากวิธีหนึ่ง

การวิเคราะห์ชื่อนี้ จะใช้ทักษา เลขศาสตร์ และอายตนะ ๖ ในการวิเคราะห์ชื่อ

การวิเคราะห์ชื่อด้วยตุ๊กตาไขนามเป็นการวิเคราะห์ชื่อได้ดีวิธีหนึ่ง เป็นการนำศาสตร์การตั้งชื่อของมอญในสมัยโบราณมาประยุกต์ใช้สำหรับการวิเคราะห์ชื่อและพยากรณ์ชื่อนั้นๆจะมีผลต่อชะตาชีวิตแก่เจ้าของชะตาอย่างไร

การดูดวงด้วยตำราโยคไก่แก้ว เป็นการดูโชคเคราะห์ประจำปี ว่าในปีนี้มีโชคเคราะห์อะไรบ้าง อีกทั้งได้แบ่งย่อยอายุเป็นสามช่วง ช่วงละ 4 เดือนทำให้ทั้งปีชะตาไม่ได้ร้ายทั้งปี หรือเสียทั้งปี

การดูดวงด้วยเลขโหรา เป็นการโชคเคราะห์ประจำปี ว่าในปีนี้มีโชคเคราะห์อะไรบ้าง ถึงแม้จะไม่ได้แบ่งอายุออกเป็น 3 ช่วง เหมือนโยคไก่แก้ว แต่จะบอกวิธีทำบุญเพื่อลดเคราะห์ร้าย เพิ่มโชคดีในปีนั้น

เป็นตำราที่แม่นยำตำราหนึ่ง ซึ่งได้ใช้กันแพร่หลายเป็นอันมาก เดิมเป็นตำราของชาวยิปซี แล้วถูกถ่ายทอดเป็นภาษาอังกฤษ ตำราโอเรกุรัม เป็นตำราที่ไขความข้องใจของผู้รับคำพยากรณ์อย่างง่ายได้เป็นอันดี