ชื่อมงคลลำดับที่ 1301-1400
ชื่ออ่านว่าเพศ
กิดาการ กิ-ดา-กาน หญิง
กิตญาดา กิด-ยา-ดา หญิง
กิตตน์ก้อง กิด-ก้อง ชาย
กิตตน์ กิด ชาย
กิตตภพ กิด-ติ-พบ ชาย
กิตติ กิด-ติ ชาย
กิตติกร กิด-ติ-กอน ชาย
กิตติกรณ์ กิด-ติ-กอน ชาย
กิตติกวิน กิด-ติ-กะ-วิน ชาย
กิตติกา กิด-ติ-กา หญิง
กิตติกานดา กิด-ติ-กาน-ดา หญิง
กิตติกานต์ กิด-ติ-กาน ชาย
กิตติขจร กิด-ติ-ขะ-จอน ชาย
กิตติ์ขจร กิด-ขะ-จอน ชาย
กิตติ์คณุตม์ กิด-คะ-นุด ชาย
กิตติคม กิด-ติ-คม ชาย
กิตติคมน์ กิด-ติ-คม ชาย
กิตติคุณ กิด-ติ-คุน ชาย
กิตติเจตน์ กิด-ติ-เจด ชาย
กิตติ์ชญาณ์ กิด-ชะ-ยา หญิง
กิตติ์ชญา กิด-ชะ-ยา หญิง
กิตติ์ชนน กิด-ชะ-นน ชาย
กิตติชนม์ กิด-ติ-ชน ชาย
กิตติ์ชนัน กิด-ชะ-นัน ชาย
กิตติชัย กิด-ติ-ไช ชาย
กิตติชาญ กิด-ติ-ชาน ชาย
กิตติเชษฐ์ กิด-ติ-เชด ชาย
กิตติโชค กิด-ติ-โชก ชาย
กิตติญา กิด-ติ-ยา หญิง
กิตติ์ญาณี กิด-ยา-นี หญิง
กิตติ์ฐิตา กิด-ถิ-ตา หญิง
กิตติณัฏฐ์ กิด-ติ-นัด ชาย
กิตติณัฐ กิด-ติ-นัด ชาย
กิตติ์ดนัย กิด-ดะ-ไน ชาย
กิตติเดช กิด-ติ-เดด ชาย
กิตติทัด กิด-ติ-ทัด ชาย
กิตติทัต กิด-ติ-ทัด ชาย
กิตติทัพพ์ กิด-ติ-ทับ ชาย
กิตติทัศน์ กิด-ติ-ทัด ชาย
กิตติ์ธนัตถ์ กิด-ทะ-นัด ชาย
กิตติ์ธนัน กิด-ทะ-นัน ชาย
กิตติ์ธนิน กิด-ทะ-นิน ชาย
กิตติธร กิด-ติ-ทอน ชาย
กิตติธรา กิด-ติ-ทะ-รา หญิง
กิตติธวัช กิด-ติ-ทะ-วัด ชาย
กิตติธัช กิด-ติ-ทัด ชาย
กิตติธัชช์ กิด-ติ-ทัด ชาย
กิตติ์ธีธัช กิด-ที-ทัด ชาย
กิตติ์นภัส กิด-นะ-พัด ชาย
กิตตินันท์ กิด-ติ-นัน ชาย
กิตติบุญ กิด-ติ-บุน ชาย
กิตติพงค์ กิด-ติ-พง ชาย
กิตติพงศ์ กิด-ติ-พง ชาย
กิตติ์พงศ์ กิด-ตะ-พง ชาย
กิตติพงษ์ กิด-ติ-พง ชาย
กิตติ์พงส์ กิด-ตะ-พง ชาย
กิตติ์พนธ์ กิด-ตะ-พน ชาย
กิตติพร กิด-ติ-พอน หญิง
กิตติ์พรชัย กิด-พอน-ไช ชาย
กิตติพล กิด-ติ-พน ชาย
กิตติพศ กิด-ติ-พด ชาย
กิตติพัชญ์ กิด-ติ-พัด ชาย
กิตติพัฒน์ กิด-ติ-พัด หญิง
กิตติพัทธ์ กิด-ติ-พัด หญิง
กิตติพันธ์ กิด-ติ-พัน ชาย
กิตติพันธุ์ กิด-ติ-พัน ชาย
กิตติพิชญ์ กิด-ติ-พิด หญิง
กิตติ์พิธาน กิด-พิ-ทาน ชาย
กิตติ์พิพัฒน์ กิด-พิ-พัด ชาย
กิตติภณ กิด-ติ-พน ชาย
กิตติภพ กิด-ติ-พบ ชาย
กิตติภร กิด-ติ-พอน หญิง
กิตติภัค กิด-ติ-พัก หญิง
กิตติภัทร กิด-ติ-พัด หญิง
กิตติภัทรดล กิด-ติ-พัด-ทระ-ดน ชาย
กิตติภูมิ กิด-ติ-พูม ชาย
กิตติภูมิฐ์ กิด-ติ-พูม ชาย
กิตติมา กิด-ติ-มา หญิง
กิตติมาภรณ์ กิด-ติ-มา-พอน หญิง
กิตติยา กิด-ติ-ยา หญิง
กิตติยาภรณ์ กิด-ติ-ยา-พอน หญิง
กิตติยุต กิด-ติ-ยุด ชาย
กิตติยุทธ กิด-ติ-ยุด ชาย
กิตติรัฐ กิด-ติ-รัด ชาย
กิตติ์รัฐ กิด-ตะ-รัด ชาย
กิตติรัตน์ กิด-ติ-รัด ชาย
กิตติรันดร์ กิด-ติ-รัน ชาย
กิตติราชนรินทร์ กิด-ติ-ราด-นะ-ริน ชาย
กิตติวรา กิด-ติ-วะ-รา หญิง
กิตติวราพัฒน์ กิด-ติ-วะ-รา-พัด ชาย
กิตติวรารัตน์ กิด-ติ-วะ-รา-รัด หญิง
กิตติวัฒน์ กิด-ติ-วัด ชาย
กิตติวิชญ์ กิด-ติ-วิด ชาย
กิตติวินท์ กิด-ติ-วิน ชาย
กิตติ์วิมล กิด-วิ-มน หญิง
กิตติวีร์ กิด-ติ-วี ชาย
กิตติวุฒิ กิด-ติ-วุด ชาย
กิตติศักดิ์ กิด-ติ-สัก ชาย
กิตติสัณห์ กิด-ติ-สัน ชาย
กิตติ์อรียา กิด-อะ-รี-ยา หญิง
เมนูดูดวงแบบต่างๆ

เป็นการดูดวงโดยอาศัยตำแหน่งของดวงดาวบนท้องฟ้า โหราศาสตร์ไทยเป็นโหราศาสตร์ชั้นสูงของไทยโดยพัฒนามาจากโหราศาสตร์ของอินเดียในสมัยกรุงสุโขทัย และได้พัฒนาต่อยอดตามลำดับจนถึงปัจจุบัน

เป็นการดูดวงโดยอาศัยตำแหน่งของลัคนาและพระจันทร์ในการพยากรณ์ การพยากรณ์ด้วยฤกษ์นั้นเป็นการคำนวณขั้นสูง ที่จะหาราศีและองศาของลัคนาเพื่อที่จะคำนวณฤกษ์ของลัคนา ส่วนฤกษ์ดาวจันทร์นั้นก็ต้องคำนวณราศีและองศาของพระจันทร์เช่นเดียวกัน

การดูดวงด้วยกราฟชีวิตเป็นการดูดวงโดยใช้วันเดือนปีเกิดเป็นสำคัญและใช้เวลาเกิดเพื่อหาวันเดือนปีเกิดที่ถูกต้อง การดูดวงด้วยกราฟชีวิตจะแบ่งภพออกเป็น 12 ภพเช่นเดียวกับโหราศาสตร์ไทยแต่ใช้วันเดือนปีเกิดเพื่อหาเลขประจำฐานทั้ง 12 แทนตำแหน่งของดาวในราศีจักร

เศษพระจอมเกล้าหรือการทายเศษชะตากำเนิดนี้ ว่ากันว่าเป็นตำราดูดวงที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวดำริขึ้น เป็นการพยากรณ์ด้วยวิธีง่าย ๆ แต่มีความแม่นยำมากวิธีหนึ่ง

การวิเคราะห์ชื่อนี้ จะใช้ทักษา เลขศาสตร์ และอายตนะ ๖ ในการวิเคราะห์ชื่อ

การวิเคราะห์ชื่อด้วยตุ๊กตาไขนามเป็นการวิเคราะห์ชื่อได้ดีวิธีหนึ่ง เป็นการนำศาสตร์การตั้งชื่อของมอญในสมัยโบราณมาประยุกต์ใช้สำหรับการวิเคราะห์ชื่อและพยากรณ์ชื่อนั้นๆจะมีผลต่อชะตาชีวิตแก่เจ้าของชะตาอย่างไร

การดูดวงด้วยตำราโยคไก่แก้ว เป็นการดูโชคเคราะห์ประจำปี ว่าในปีนี้มีโชคเคราะห์อะไรบ้าง อีกทั้งได้แบ่งย่อยอายุเป็นสามช่วง ช่วงละ 4 เดือนทำให้ทั้งปีชะตาไม่ได้ร้ายทั้งปี หรือเสียทั้งปี

การดูดวงด้วยเลขโหรา เป็นการโชคเคราะห์ประจำปี ว่าในปีนี้มีโชคเคราะห์อะไรบ้าง ถึงแม้จะไม่ได้แบ่งอายุออกเป็น 3 ช่วง เหมือนโยคไก่แก้ว แต่จะบอกวิธีทำบุญเพื่อลดเคราะห์ร้าย เพิ่มโชคดีในปีนั้น

เป็นตำราที่แม่นยำตำราหนึ่ง ซึ่งได้ใช้กันแพร่หลายเป็นอันมาก เดิมเป็นตำราของชาวยิปซี แล้วถูกถ่ายทอดเป็นภาษาอังกฤษ ตำราโอเรกุรัม เป็นตำราที่ไขความข้องใจของผู้รับคำพยากรณ์อย่างง่ายได้เป็นอันดี