ชื่อมงคลลำดับที่ 901-1000
ชื่ออ่านว่าเพศ
กัญญ์พิช์อร กัน-พิ-ออน หญิง
กัญญภัทร กัน-ยะ-พัด หญิง
กัญญภัสสร กัน-ยะ-พัด-สอน หญิง
กัญญภา กัน-ยะ-พา หญิง
กัญญมล กัน-ยะ-มน หญิง
กัญญรวินท์ กัน-ยะ-ระ-วิน หญิง
กัญญลักษณ์ กัน-ยะ-ลัก หญิง
กัญญวรัชญ์ กัน-ยะ-วะ-รัด หญิง
กัญญ์วรา กัน-วะ-รา หญิง
กัญญศร กัน-ยะ-สอน หญิง
กัญญ์สิณีณัฐ กัน-สิ-นี-นัด หญิง
กัญญ์อิฏฐา กัน-อิด-ถา หญิง
กัญญา กัน-ยา หญิง
กัญญากร กัน-ยา-กอน หญิง
กัญญาญ์ กัน-ยา หญิง
กัญญาณัฎฐ์ กัน-ยา-นัด หญิง
กัญญาณัฏฐ์ กัน-ยา-นัด หญิง
กัญญาณัฐ กัน-ยา-นัด หญิง
กัญญาณัฐน์ กัน-ยา-นัด หญิง
กัญญาณัท กัน-ยา-นัด หญิง
กัญญาณี กัน-ยา-นี หญิง
กัญญาณ์ กัน-ยา หญิง
กัญญาดา กัน-ยา-ดา หญิง
กัญญาทิพย์ กัน-ยา-ทิบ หญิง
กัญญานัฐ กัน-ยา-นัด หญิง
กัญญานันท์ กัน-ยา-นัน หญิง
กัญญาพงศ์ กัน-ยา-พง หญิง
กัญญาพร กัน-ยา-พอน หญิง
กัญญาพัชร กัน-ยา-พัด หญิง
กัญญาพัชร์ กัน-ยา-พัด หญิง
กัญญาภรณ์ กัน-ยา-พอน หญิง
กัญญาภัค กัน-ยา-พัก หญิง
กัญญาภัทร กัน-ยา-พัด หญิง
กัญญารัตน์ กัน-ยา-รัด หญิง
กัญญาวรัตน์ กัน-ยา-วะ-รัด หญิง
กัญญาวัชร กัน-ยา-วัด หญิง
กัญญาวีร์ กัน-ยา-วี หญิง
กัญญาอร กัน-ยา-ออน หญิง
กัญญิกา กัน-ยิ-กา หญิง
กัญฐณัฏฐ์ กัน-ถะ-นัด หญิง
กัญฐณา กัน-ถะ-นา หญิง
กัญฐนา กัน-ถะ-นา หญิง
กัญฐวรรธน์ กัน-ถะ-วัด หญิง
กัญณฐา กัน-นะ-ถา หญิง
กัญณภัทร กัน-นะ-พัด หญิง
กัญณภัส กัน-นะ-พัด หญิง
กัญณิตา กัน-นิ-ตา หญิง
กัญธนัช กัน-ทะ-นัด หญิง
กัญธนัท กัน-ยะ-ทะ-นัด หญิง
กัญนภัสท์ กัน-นะ-พัด หญิง
กัญนิภา กัน-ยะ-นิ-พา หญิง
กัญพศ กัน-ยะ-พด หญิง
กัญพัฒน์ กัน-ยะ-พัด หญิง
กัญภร กัน-ยะ-พอน หญิง
กัญรัตน์ กัน-ยะ-รัด หญิง
กัญรินทร์ กัน-ยะ-ริน หญิง
กัญวรา กัน-วะ-รา หญิง
กัญวิชชา กัน-วิด-ชา หญิง
กัญวีณ์ กัน-ยะ-วี หญิง
กัญสิญา กัน-สิ-ยา หญิง
กัญสุชญา กัน-สุ-ชะ-ยา หญิง
กัณญณัฎฐ์ กัน-ยะ-นัด ชาย
กัณฐณัฏฐ์ กัน-ถะ-นัด หญิง
กัณฐพงศ์ กัน-ถะ-พง ชาย
กัณฐพงษ์ กัน-ถะ-พง ชาย
กัณฐพันธ์ กัน-ถะ-พัน หญิง
กัณฐมณี กัน-ถะ-มะ-นี หญิง
กัณฐ์สิญา กัน-สิ-ยา หญิง
กัณฐาภรณ์ กัน-ถา-พอน หญิง
กัณฐิกา กัน-ทิ-กา หญิง
กัณฐิภา กัน-ถิ-พา หญิง
กัณฑกะ กัน-ทะ-กะ ชาย
กัณฑ์ชิสา กัน-ชิ-สา หญิง
กัณฑโชค กัน-ทะ-โชก ชาย
กัณฑ์ณณัฐ กัน-นะ-นัด หญิง
กัณฑ์พสิษฐ์ กัน-พะ-สิน ชาย
กัณฑ์ภัทร กัน-พัด ชาย
กัณฑ์ยชญ์ กัน-ยด ชาย
กัณฑ์วิทัศน์กร กัน-วิ-ทัน-กอน ชาย
กัณฑ์อเนก กัน-อะ-เหนก ชาย
กัณฑาภัทร กัน-ทา-พัด หญิง
กัณฑิตา กัน-ทิ-ตา หญิง
กัณณ์กฤตินี กัน-กริด-ติ-นี หญิง
กัณณิกา กัน-นิ-กา หญิง
กัณติมา กัน-ติ-มา หญิง
กัณวฤศ กัน-วะ-ริด ชาย
กัตติกา กัด-ติ-กา หญิง
กันต์กนิษฐาภัค กัน-กะ-นิด-ถา-พัก หญิง
กันต์กมล กัน-กะ-มน หญิง
กันต์กรณ์ กัน-กอน หญิง
กันต์กร กัน-กอน ไม่ระบุ
กันต์กวี กัน-กะ-วี หญิง
กันต์กาณฑ์ กัน-กาน ชาย
กันต์กานต์ กัน-กาน หญิง
กันต์คุณัชญ์ กัน-คุ-นัด ชาย
กันต์ชนก กัน-ชะ-นก หญิง
กันต์ชนิต กัน-ชะ-นิ-ดา หญิง
กันต์ชยุต กัน-ชะ-ยุด หญิง
กันต์ชัย กัน-ไช ชาย
กันตชาคร กัน-ตะ-ชา-คอน หญิง
เมนูดูดวงแบบต่างๆ

เป็นการดูดวงโดยอาศัยตำแหน่งของดวงดาวบนท้องฟ้า โหราศาสตร์ไทยเป็นโหราศาสตร์ชั้นสูงของไทยโดยพัฒนามาจากโหราศาสตร์ของอินเดียในสมัยกรุงสุโขทัย และได้พัฒนาต่อยอดตามลำดับจนถึงปัจจุบัน

เป็นการดูดวงโดยอาศัยตำแหน่งของลัคนาและพระจันทร์ในการพยากรณ์ การพยากรณ์ด้วยฤกษ์นั้นเป็นการคำนวณขั้นสูง ที่จะหาราศีและองศาของลัคนาเพื่อที่จะคำนวณฤกษ์ของลัคนา ส่วนฤกษ์ดาวจันทร์นั้นก็ต้องคำนวณราศีและองศาของพระจันทร์เช่นเดียวกัน

การดูดวงด้วยกราฟชีวิตเป็นการดูดวงโดยใช้วันเดือนปีเกิดเป็นสำคัญและใช้เวลาเกิดเพื่อหาวันเดือนปีเกิดที่ถูกต้อง การดูดวงด้วยกราฟชีวิตจะแบ่งภพออกเป็น 12 ภพเช่นเดียวกับโหราศาสตร์ไทยแต่ใช้วันเดือนปีเกิดเพื่อหาเลขประจำฐานทั้ง 12 แทนตำแหน่งของดาวในราศีจักร

เศษพระจอมเกล้าหรือการทายเศษชะตากำเนิดนี้ ว่ากันว่าเป็นตำราดูดวงที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวดำริขึ้น เป็นการพยากรณ์ด้วยวิธีง่าย ๆ แต่มีความแม่นยำมากวิธีหนึ่ง

การวิเคราะห์ชื่อนี้ จะใช้ทักษา เลขศาสตร์ และอายตนะ ๖ ในการวิเคราะห์ชื่อ

การวิเคราะห์ชื่อด้วยตุ๊กตาไขนามเป็นการวิเคราะห์ชื่อได้ดีวิธีหนึ่ง เป็นการนำศาสตร์การตั้งชื่อของมอญในสมัยโบราณมาประยุกต์ใช้สำหรับการวิเคราะห์ชื่อและพยากรณ์ชื่อนั้นๆจะมีผลต่อชะตาชีวิตแก่เจ้าของชะตาอย่างไร

การดูดวงด้วยตำราโยคไก่แก้ว เป็นการดูโชคเคราะห์ประจำปี ว่าในปีนี้มีโชคเคราะห์อะไรบ้าง อีกทั้งได้แบ่งย่อยอายุเป็นสามช่วง ช่วงละ 4 เดือนทำให้ทั้งปีชะตาไม่ได้ร้ายทั้งปี หรือเสียทั้งปี

การดูดวงด้วยเลขโหรา เป็นการโชคเคราะห์ประจำปี ว่าในปีนี้มีโชคเคราะห์อะไรบ้าง ถึงแม้จะไม่ได้แบ่งอายุออกเป็น 3 ช่วง เหมือนโยคไก่แก้ว แต่จะบอกวิธีทำบุญเพื่อลดเคราะห์ร้าย เพิ่มโชคดีในปีนั้น

เป็นตำราที่แม่นยำตำราหนึ่ง ซึ่งได้ใช้กันแพร่หลายเป็นอันมาก เดิมเป็นตำราของชาวยิปซี แล้วถูกถ่ายทอดเป็นภาษาอังกฤษ ตำราโอเรกุรัม เป็นตำราที่ไขความข้องใจของผู้รับคำพยากรณ์อย่างง่ายได้เป็นอันดี