![]() | ||
คำอ่าน | ความหมาย | |
---|---|---|
ชู-พัน | ยกย่องวงศ์สกุล | |
![]() | ||
ชื่น-จิด | จิตใจเบิกบาน, สดชื่น | |
![]() | ||
ชิ-ชา | ||
![]() | ||
ชิด-ชา-พา | แสงที่เกิดขึ้นจากชัยชนะ | |
![]() | ||
ไช-ยะ-พัด | เพชรแห่งชัยชนะ | |
![]() | ||
โชก-รัก-สา | โชคคุ้มครอง | |
![]() | ||
ชน-ละ-พัด-สะ-นัน | ยินดีในทรัพย์สมบัติแห่งน้ำ | |
![]() | ||
ชัด-ชะ-รี | นักรบที่รัก | |
![]() | ||
ชน-นะ-พด | เพชรน้ำงาม | |
![]() | ||
ชะ-ยาง-กูน | [ชยางกูร] | |
![]() | ||
ชัด-ชะ-ดา-มน | ชฎาที่มีมนต์ | |
![]() | ||
ชะ-นัน-ชิ-ดา-พัก | ผู้มีโชคต่อการชนะผู้อื่น | |
![]() | ||
ชี-วิน | ผู้เป็นอยู่ ผู้มีชีวิต | |
![]() | ||
ชุ-ติ-มน | จิตใจที่รุ่งเรือง | |
![]() | ||
ชัด-ชะ-ยา | นักรบที่มีความรู้ | |
![]() | ||
ชะ-ลิด-ดา | [ชลิดา] | |
![]() | ||
ชุด-ติ-พา | [ชุติภา] | |
![]() | ||
ชะ-มา-นน | รักแมว | |
![]() | ||
ชิ-ระ-พัด | ความเก่าแก่อันทรงคุณค่า | |
![]() | ||
ชะ-ไม-พอน | [ชไมพร] | |
![]() | ||
ชะ-นัด-ทิบ | ||
![]() | ||
ชะ-นา-ขวัน | มิ่งขวัญของปวงชน | |
![]() | ||
โชก-ไช-วัด | เจริญในโชคและชัยชนะ | |
![]() | ||
ชู-สะ-กุน | ยกย่องวงศ์ตระกูล | |
![]() | ||
ชะ-ยา-นัด | [ชญาณัฏฐ์] | |
![]() | ||
ชื่น-ชี-วัน | ชีวิตมีความสุข | |
![]() | ||
ชะ-ยุก | [ชยุตม์] | |
![]() | ||
ชะ-นัด-ทิ-ดา | ลูกสาวที่เกิดแต่นักปราชญ์ | |
![]() | ||
ชัน-ยะ-นัด | นักปราชญ์ที่มีความรู้มาก | |
![]() | ||
ชะ-นัน-ยา | ความรู้ที่ทำให้เกิดความยินดี | |
![]() | ||
ชะ-นัน-ชิ-ยา | [ชนัญชิดา] | |
![]() | ||
ชะ-บา | [ชบา] | |
![]() | ||
ชา-วิ-นี | [ชาลินี] | |
![]() | ||
ไช-ยะ-เชด | มีชัยชนะและเป็นใหญ่ | |
![]() | ||
ชัน-ชะ-นัน | ||
![]() | ||
ชะ-ยา-ลัก | ลักษณะของผู้มีความรู้ | |
![]() | ||
ไช-สิ-หริ | ชัยชนะที่งดงาม | |
![]() | ||
ชะ-ยา-มาด | ความรู้ที่มีค่าดุจทอง | |
![]() | ||
ชิ-ติ-มา | ผู้มีชัยชนะ | |
![]() | ||
ชน-ละ-นาด | สายน้ำอันเป็นที่พึ่ง | |
![]() | ||
ชาน-สัก | มีความเชี่ยวชาญและมีอำนาจ | |
![]() | ||
ชน-นะ-รบ | เสียงของหมู่ชน | |
![]() | ||
ชะ-นิ-ดา | [ชนิดา] | |
![]() | ||
ไช-ยะ-นัด | ชัยชนะแห่งนักปราชญ์ | |
![]() | ||
ชะ-โร-ทอน | [ชโลทร] | |
![]() | ||
ชัน-สา | อายุ | |
![]() | ||
ชะ-วะ-เทบ | เทวดาแห่งความเร็ว | |
![]() | ||
ชุ-ทิ-มา | ผู้มีความรู้เรื่องต้นไม้ | |
![]() | ||
ชะ-ยา-นัน | [ชยานันท์] | |
![]() | ||
ไช-ยะ-เชด | พี่ชายที่ประเสริฐ ผู้เป็นใหญ่กว่า | |
![]() | ||
ชะ-ดิน | ผู้มีผมมุ่นเป็นชฎา นักพรตพวกหนึ่งที่เราเรียกว่า ฤษี | |
![]() | ||
ไช-ยะ-พง | [ไชยพงศ์] | |
![]() | ||
ชะ-ดา-ยุด | เครื่องสวมศีรษะในการรบ | |
![]() | ||
ชะ-นิ-ยา | ผู้น่ารัก | |
![]() | ||
ไช-วิ-ชิด | ผู้ชนะ | |
![]() | ||
ชิด-สะ-นุ | ผู้ชนะ | |
![]() | ||
ชะ-ยา-นิด | เจ้าแห่งความรู้ | |
![]() | ||
ชะ-ยา-นุด | ผู้มีความรู้อันสูงสุด | |
![]() | ||
ชะ-นัน-ทอน | [ชนันธร] | |
![]() | ||
นัด-ถะ-พง | เชิดชูวงศ์ตระกูล | |
![]() | ||
ไช-จะ-เริน | ชัยชนะอันประเสริฐ | |
![]() | ||
ชะ-นะ-พอน | ผู้ค้ำจุนหมู่ชน | |
![]() | ||
ชะ-นก-สุ-นัน | ความยินดีของพ่อ | |
![]() | ||
ชา-ติ-เดด | การเกิดขึ้นของอำนาจ | |
![]() | ||
ไช-ทะ-นา | ผู้ชนะในทรัพย์ | |
![]() | ||
ไช-ฉะ-เหลิม | ชัยชนะที่เลิศ | |
![]() | ||
ไช-ยะ-สิด-ทิ | ชนะด้วยความสำเร็จ | |
![]() | ||
ชื่น-รึ-ดี | ชื่นใจ | |
![]() | ||
ชี-วะ-พอน | ดำรงชีพ | |
![]() | ||
ชะ-ยา-นัด | ผูกพันด้วยความรู้ | |
![]() | ||
ชะ-ยา-นัด | ชัยชนะของนักปราชญ์ | |
![]() | ||
ชะ-ดา | เครื่องสวมศีรษะรูปคล้ายมงกุฎ ผมที่เกล้าเป็นมวย สูงขึ้น | |
![]() | ||
ช่อ-เอื้อง | ช่อกล้วยไม้ | |
![]() | ||
ชัด-ชุ-มา | ทหารจำนวนมาก | |
![]() | ||
ไช-บอ-ดิน | ผู้ชนะและเป็นผู้นำ | |
![]() | ||
ชุ-ติ-มา-พอน | ผู้ค้ำจุนความรุ่งเรือง,ผู้ประดับด้วยความรุ่งเรือง | |
![]() | ||
ชะ-นัน | เกิดความยินดี | |
![]() | ||
ชน-นะ-ทัน | คนดี | |
![]() | ||
ไช-รัด | ผู้ชนะในเรื่องเงิน | |
![]() | ||
ชะ-ยะ-ทัน | ชนะด้วยความดี | |
![]() | ||
ชา-นุ-วัด | ฝนและหัวเข่า | |
![]() | ||
ชะ-นิน-พอน | ผู้เป็นใหญ่ในกลุ่มชนและประเสริฐ | |
![]() | ||
ชุ-ดา-รัด | พระราชาผู้ทรงความรุ่งเรือง | |
![]() | ||
ชัน-ยะ-กาน | ทองที่ประเสริฐ | |
![]() | ||
ชะ-นา-กาน | ประชาชนผู้มีค่าดุจทองคำ | |
![]() | ||
เชิด-ชาย | บุรุษผู้ได้รับการยกย่อง | |
![]() | ||
ชิ-ตา-พา | แสงแห่งชัยชนะ | |
![]() | ||
ชาน-สิด | ประสบความสำเร็จเนื่องจากความชำนาญ | |
![]() | ||
ชะ-ยา-ทิบ | ชัยชนะของเทวดา | |
![]() | ||
ชิน-ยา-ดา | นักปราชญ์ผู้ชนะ | |
![]() | ||
ชอน-พัน | ผูกพันกับสายน้ำ | |
![]() | ||
ชน-ละ-วิด | สายน้ำแห่งความรู้ | |
![]() | ||
ชัด-ชะ-ยา-พา | แสงสว่างแห่งปัญญาของนักรบ | |
![]() | ||
ชี-ระ-นัด | มั่นคงยืนนาน | |
![]() | ||
ชวน-ชื่น | ชักชวน, พากัน | |
![]() | ||
เชด-ทิ-ติด | ผู้เป็นใหญ่ที่ดำรงอยู่ในความเพียรเพื่อความรู้ | |
![]() | ||
เชด-ทิ-ติ | ผู้เป็นใหญ่ในด้านสติปัญญา | |
![]() | ||
โชด-ชะ-นิด | ผู้ปรารถนาความรุ่งเรือง | |
![]() | ||
หลักการตั้งชื่อที่ดี | ||
1.ชื่อนั้นต้องมีความหมายที่ดี
2.ชื่อนั้นต้องไม่มีอักษรกาลกิณีในชื่อ และพยายามเลี่ยงตัวอักษรที่เป็นอุตสาหะนำหน้าชื่อเนื่องจากว่าผู้ใช้ชื่อนี้มักเหน็ดเหนื่อย อาจารย์บางท่านได้ห้ามการใช้อักษรวรรคศรีมากเกินไป ด้วยเหตุผลว่าคนที่มีอักษรวรรคศรีมากจะประสบโชคลาภในเรื่องทรัพย์สินเงินทองในใจคิดแต่เรื่องเงินทองทำให้การกระทำการใดๆคิดแต่เรืองเงินทองจนขาดสติยับยั้งชั่งใจทำผิดพลาดได้ง่าย ท่านให้ใช้วรรคอักษรมนตรีนำหน้าชื่อแทนอักษรวรรคศรี ด้วยเหตุผลอันน่าฟังว่า สตรีต้องมีคู่ครองที่ดีเป็นหัวหน้าครอบครัวสร้างความสุขให้แก่ครอบครัว และใช่อักษรวรรคบริวารผสมในชื่อเพื่อที่จะให้บุตรและบริวารเชื่อฟังและเป็นคนดี ซึ่งล้วนแล้วเป็นความคิดเห็นที่ดี 3. ชื่อนั้นต้องมีต้องมีอักษรอยู่ในตำแหน่งที่ดีในตุ๊กตาไขนาม เพราะตุ๊กตาไขนามนั้นจะพยากรณ์ชื่อนั้นๆว่าจะมีวิถีการดำเนินชีวิตไปตามช่วงอายุต่างๆว่าดำเนินไปเช่นใดหากใช้ชื่อนั้น เพราะชื่อเดียวกันอาจจะดีสำหรับบุคคลในปีจุลศักราชหนึ่งแต่ไม่ดีสำหรับปีจุลศักราชหนึ่ง เช่นชื่ออภิสิทธิ์ คนหนึ่งอาจจะเป็นนายกรัฐมนตรี แต่อีกคนอาจจะทำงานรับจ้างแบกหามก็เป็นได้ 4.เลขศาสตร์ เป็นวิชาว่าด้วยตัวเลขอักษรต่างๆโหราจารย์ได้ใช้ตัวเลขในการแทนค่าเพื่อที่จะหาผลรวมของเลขเหล่านั้น แล้วให้ความหมายของตัวเลขแต่ละค่า ชื่อที่ดีนั้นผลรวมของเลขศาสตร์ทั้งชื่อและนามสกุลต้องรวมแล้วต้องได้ค่าเลขศาสตร์ที่ดีที่สุดทั้งคู่ การที่ชื่อตัวได้เลขศาสตร์ที่ดีไม่เพียงพอต้องพิจารณาผลรวมของนามสกุลร่วมด้วย ส่วนเลขศาสตร์นามสกุลเราแก้ไขอะไรไม่ได้มากนักนอกจากเปลี่ยนนามสกุลซึ่งไม่ขอแนะนำ 5.อายตนะ ๖ เป็นวิชาการตั้งชื่อด้วยโหราศาสตร์มอญโบราณ และเอามาพิจารณาในการตั้งชื่อได้ควรเลือกเอาค่าตัวเลขอายตนะ ๖ ที่ดี ไม่ควรเอาค่าอายตนะ ๖ ที่ไม่ดีมาตั้งชื่อ หากเลี่ยงไม่ได้ก็ไม่พิจารณาได้ในส่วนนี้แต่ทางที่ดีควรหาค่าอายตนะ ๖ ที่ดี |