![]() | ||
ความหมาย | ||
---|---|---|
นักปราชญ์ผู้อยู่ในกรอบแห่งความรู้ | ||
![]() | ||
[ศรัณยธร] | ||
![]() | ||
ทรงไว้แห่งความเป็นที่พึ่ง | ||
![]() | ||
ผู้ประเสริฐในแผ่นดิน | ||
![]() | ||
แก้วมียามค่ำคืน | ||
![]() | ||
เป็นนางฟ้า | ||
![]() | ||
ผู้เป็นแบบอย่างที่ผิวพรรณผุดผ่อง | ||
![]() | ||
ได้พบลำธาร | ||
![]() | ||
ผู้เกิดมาดี | ||
![]() | ||
นักปราชญ์ผู้เจริญ | ||
![]() | ||
ยินดีมาก | ||
![]() | ||
กําแพงสําหรับป้องกันการรุกราน | ||
![]() | ||
[ทัตพร] | ||
![]() | ||
กำลังแห่งลำน้ำ | ||
![]() | ||
[นพศร] | ||
![]() | ||
[ทัตพร] | ||
![]() | ||
ผูกพันกับสายน้ำ ผูกพันกับลำธาร | ||
![]() | ||
จงรักความดี | ||
![]() | ||
ภูเขาและท่าน้ำ | ||
![]() | ||
เชือนแช | ||
![]() | ||
บันดาลให้เกิดความรู้ที่มีค่า | ||
![]() | ||
คนผู้เป็นที่พึ่ง | ||
![]() | ||
[พาณิชย์] | ||
![]() | ||
ผู้เป็นใหญ่ด้วยความรู้ด้วยจิต | ||
![]() | ||
การค้าขาย | ||
![]() | ||
พระจันทร์ผู้เป็นใหญ่กว่าน้ำ | ||
![]() | ||
โชคดีในทรัพย์ | ||
![]() | ||
ได้รับเงิน | ||
![]() | ||
ความเงียบสงบ | ||
![]() | ||
แสงฟ้า | ||
![]() | ||
[วรันธร] | ||
![]() | ||
ทรงไว้ซึ่งความรู้ | ||
![]() | ||
[มาวินท์] | ||
![]() | ||
ผิวพรรณงาม,ผู้เกิดในวงศ์ตระกูลที่ดี | ||
![]() | ||
เพิ่มให้สูงขึ้นให้มากขึ้น | ||
![]() | ||
[วิรุจ] | ||
![]() | ||
[แพรวรินทร์] | ||
![]() | ||
ธงชัยที่น่ายินดี | ||
![]() | ||
พระอาทิตย์ผู้เป็นที่พึ่ง | ||
![]() | ||
ผู้ที่มีชัยชนะในการรบด้วยศร | ||
![]() | ||
[นนท์ธวัช] | ||
![]() | ||
ความงามอันประเสริฐ | ||
![]() | ||
แสงสว่างแห่งเครื่องประดับ | ||
![]() | ||
เชื้อสายอันประเสริฐ | ||
![]() | ||
ความอิ่มเอมในความร่ำรวย | ||
![]() | ||
เจ้าแห่งประโยชน์ในทรัพย์ | ||
![]() | ||
วงศ์ตระกูลที่มีสมบัติ | ||
![]() | ||
คำพูดที่ค้ำจุน | ||
![]() | ||
ช่วงปลายของฤดูฝน | ||
![]() | ||
เจริญด้วยกฎหมาย | ||
![]() | ||
[บุปผา] | ||
![]() | ||
มีอำนาจดุจเทวดา | ||
![]() | ||
ผิวพรรณงาม | ||
![]() | ||
ปิ่นที่งดงาม | ||
![]() | ||
แสงสว่างที่น่ายินดียิ่ง | ||
![]() | ||
เชิดชู | ||
![]() | ||
[อธิพงศ์] | ||
![]() | ||
ตระกูลใหญ่ | ||
![]() | ||
[อธิพงษ์] | ||
![]() | ||
ทำความดีให้บริบูรณ์ | ||
![]() | ||
เครื่องประดับยศ | ||
![]() | ||
นักปราชญ์ผู้เกิดสองครั้ง | ||
![]() | ||
ชั้นที่ดีงาม | ||
![]() | ||
ผู้ทรงไว้ซึ่งธงชัยแห่งนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
![]() | ||
ผู้งดเว้นจากความชั่ว | ||
![]() | ||
ความจริงอันประเสริฐ | ||
![]() | ||
เป็นที่พึ่งอันประเสริฐ | ||
![]() | ||
หมู่ใจ | ||
![]() | ||
ความจริงอันประเสริฐ | ||
![]() | ||
ใจที่สุภาพ | ||
![]() | ||
[จิรัชญา] | ||
![]() | ||
คงอยู่ตลอดไป | ||
![]() | ||
เชื้อสายแห่งความดี | ||
![]() | ||
สิบใจ | ||
![]() | ||
[ณัฐนันทน์] | ||
![]() | ||
สิบหมื่น,มาก, นัก, เหลือเกิน | ||
![]() | ||
ผู้ค้ำจุนที่เข้มแข็ง | ||
![]() | ||
![]() | ||
ลูกสาวที่รักมากดั่งดวงใจ | ||
![]() | ||
[พิรดา] | ||
![]() | ||
[พิณรดา] | ||
![]() | ||
ดวงอาทิตย์ | ||
![]() | ||
[พิณรดา] | ||
![]() | ||
[พิณรดา] | ||
![]() | ||
ลูกสาวผู้มีเชื้อสาย | ||
![]() | ||
[ภัณฑิลา] | ||
![]() | ||
[ภัณฑิรา] | ||
![]() | ||
![]() | ||
หญิงผู้มีความดี | ||
![]() | ||
[ศรินทร์ทิพย์] | ||
![]() | ||
[พิณรดา] | ||
![]() | ||
[รณชัย] | ||
![]() | ||
แสงสว่างอันน่ายินดี | ||
![]() | ||
![]() | ||
รักในความรู้ | ||
![]() | ||
![]() | ||
ธิดาองค์ใหญ่ของพระเจ้ากุเรปัน | ||
![]() | ||
![]() | ||
แพรที่เป็นใหญ่ในความประเสริฐ | ||
![]() | ||
หลักการตั้งชื่อที่ดี | ||
1.ชื่อนั้นต้องมีความหมายที่ดี
2.ชื่อนั้นต้องไม่มีอักษรกาลกิณีในชื่อ และพยายามเลี่ยงตัวอักษรที่เป็นอุตสาหะนำหน้าชื่อเนื่องจากว่าผู้ใช้ชื่อนี้มักเหน็ดเหนื่อย อาจารย์บางท่านได้ห้ามการใช้อักษรวรรคศรีมากเกินไป ด้วยเหตุผลว่าคนที่มีอักษรวรรคศรีมากจะประสบโชคลาภในเรื่องทรัพย์สินเงินทองในใจคิดแต่เรื่องเงินทองทำให้การกระทำการใดๆคิดแต่เรืองเงินทองจนขาดสติยับยั้งชั่งใจทำผิดพลาดได้ง่าย ท่านให้ใช้วรรคอักษรมนตรีนำหน้าชื่อแทนอักษรวรรคศรี ด้วยเหตุผลอันน่าฟังว่า สตรีต้องมีคู่ครองที่ดีเป็นหัวหน้าครอบครัวสร้างความสุขให้แก่ครอบครัว และใช่อักษรวรรคบริวารผสมในชื่อเพื่อที่จะให้บุตรและบริวารเชื่อฟังและเป็นคนดี ซึ่งล้วนแล้วเป็นความคิดเห็นที่ดี 3. ชื่อนั้นต้องมีต้องมีอักษรอยู่ในตำแหน่งที่ดีในตุ๊กตาไขนาม เพราะตุ๊กตาไขนามนั้นจะพยากรณ์ชื่อนั้นๆว่าจะมีวิถีการดำเนินชีวิตไปตามช่วงอายุต่างๆว่าดำเนินไปเช่นใดหากใช้ชื่อนั้น เพราะชื่อเดียวกันอาจจะดีสำหรับบุคคลในปีจุลศักราชหนึ่งแต่ไม่ดีสำหรับปีจุลศักราชหนึ่ง เช่นชื่ออภิสิทธิ์ คนหนึ่งอาจจะเป็นนายกรัฐมนตรี แต่อีกคนอาจจะทำงานรับจ้างแบกหามก็เป็นได้ 4.เลขศาสตร์ เป็นวิชาว่าด้วยตัวเลขอักษรต่างๆโหราจารย์ได้ใช้ตัวเลขในการแทนค่าเพื่อที่จะหาผลรวมของเลขเหล่านั้น แล้วให้ความหมายของตัวเลขแต่ละค่า ชื่อที่ดีนั้นผลรวมของเลขศาสตร์ทั้งชื่อและนามสกุลต้องรวมแล้วต้องได้ค่าเลขศาสตร์ที่ดีที่สุดทั้งคู่ การที่ชื่อตัวได้เลขศาสตร์ที่ดีไม่เพียงพอต้องพิจารณาผลรวมของนามสกุลร่วมด้วย ส่วนเลขศาสตร์นามสกุลเราแก้ไขอะไรไม่ได้มากนักนอกจากเปลี่ยนนามสกุลซึ่งไม่ขอแนะนำ 5.อายตนะ ๖ เป็นวิชาการตั้งชื่อด้วยโหราศาสตร์มอญโบราณ และเอามาพิจารณาในการตั้งชื่อได้ควรเลือกเอาค่าตัวเลขอายตนะ ๖ ที่ดี ไม่ควรเอาค่าอายตนะ ๖ ที่ไม่ดีมาตั้งชื่อ หากเลี่ยงไม่ได้ก็ไม่พิจารณาได้ในส่วนนี้แต่ทางที่ดีควรหาค่าอายตนะ ๖ ที่ดี |