![]() | ||
ความหมาย | ||
---|---|---|
ปรารถนาความย่อยยับ ไม่ควรนำมาตั้งชื่อ ควรใช้คำ [วิไลพร] | ||
![]() | ||
[เมธาธิกรณ์] | ||
![]() | ||
เท่าชีวิต | ||
![]() | ||
ผู้รักษานักปราชญ์ | ||
![]() | ||
วานิลลา | ||
![]() | ||
บริบูรณ์และมั่นคง | ||
![]() | ||
การรบของนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
[พศิน] | ||
![]() | ||
ความรู้ความเข้าใจอันประเสริฐ | ||
![]() | ||
ช่อดอกไม้สวรรค์ | ||
![]() | ||
นางฟ้า | ||
![]() | ||
ชัยชนะอันประเสริฐ | ||
![]() | ||
นักปราชญ์ผู้ประเสริฐ | ||
![]() | ||
มีกำลังอันยิ่งใหญ่ | ||
![]() | ||
มีกำลังอันยิ่งใหญ่ | ||
![]() | ||
ความดีความเจริญ | ||
![]() | ||
ผู้มีจิตใจงามประดับตน | ||
![]() | ||
[สุจินต์] | ||
![]() | ||
ลักษณะของความรอบรู้ | ||
![]() | ||
ดอกบัวอันน่ายินดี | ||
![]() | ||
เอื้อเฟ้อเผื่อแผ่แก่วงศ์สกุล | ||
![]() | ||
[ณรงค์กรณ์] | ||
![]() | ||
[สุรภัส] | ||
![]() | ||
ความสงสัย | ||
![]() | ||
สิ่งมีค่าแห่งทรวง(ใจ) | ||
![]() | ||
ชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ | ||
![]() | ||
[ณัฐปคัลภ์] | ||
![]() | ||
[อัครชัย] | ||
![]() | ||
เหมือนร่มเงา | ||
![]() | ||
เพชร | ||
![]() | ||
ผู้ทรงไว้ซึ่งเงิน | ||
![]() | ||
[พิมพ์ผกา] | ||
![]() | ||
ผู้ยินดีในนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
แก้วบริสุทธิ์ | ||
![]() | ||
![]() | ||
ยินดีในความรู้ | ||
![]() | ||
มีผิวงามดุจฟ้า | ||
![]() | ||
ใช้ศรในการรบ | ||
![]() | ||
ความยินดีของเทวดา | ||
![]() | ||
ผู้ให้ความรู้ | ||
![]() | ||
จอม, ยอด,หงอนยอดเขา | ||
![]() | ||
บ่อเกิดของน้ำ | ||
![]() | ||
ผู้ยินดีอยู่ในกรอบ | ||
![]() | ||
[ธีระ] | ||
![]() | ||
ตั้งมั่นในความเป็นปราชญ์ | ||
![]() | ||
หญิงที่ดีเลิศ | ||
![]() | ||
![]() | ||
ผู้ค้ำจุนความงาม | ||
![]() | ||
[ศรัณย์] | ||
![]() | ||
ผู้ค้ำจุนความงาม | ||
![]() | ||
ยินดีในความดีที่ค้ำจุน | ||
![]() | ||
รุ่งเรืองในความรู้ | ||
![]() | ||
[สนธยา] | ||
![]() | ||
[สิทธิพงศ์] | ||
![]() | ||
งามมาก | ||
![]() | ||
เทวดาผู้ยิ่งใหญ่ | ||
![]() | ||
รัศมีของเทวดา | ||
![]() | ||
ส่วนที่หนึ่ง | ||
![]() | ||
สนองเทวดา | ||
![]() | ||
แสงสว่างที่แกว่ง | ||
![]() | ||
เจริญรุ่งเรืองด้วยศิลปะ | ||
![]() | ||
[นาฎณภัทร] | ||
![]() | ||
นักปราชญ์ผู้ยินดีในผิวพรรณอันงดงามและโชคดี | ||
![]() | ||
นักปราชญ์ผู้ประเสริฐ | ||
![]() | ||
[อัครณวัฒน์] | ||
![]() | ||
[ปวีร์ธิดา] | ||
![]() | ||
ปกป้องอย่างกล้าหาญ | ||
![]() | ||
![]() | ||
ผู้มีผิวงามดุจบัว | ||
![]() | ||
นักปราชญ์ผู้ยินดีในผิวพรรณอันงดงามและโชคดี | ||
![]() | ||
เจริญในความรู้ | ||
![]() | ||
บ่อเกิดของความบริสุทธิ์ | ||
![]() | ||
เจริญงอกงามทางความรู้มาก | ||
![]() | ||
การร่ายรำอันงดงามซึ่งเกิดจากความรู้ | ||
![]() | ||
มีความเจริญเป็นที่พึ่ง | ||
![]() | ||
ฝนอันเป็นมงคล | ||
![]() | ||
รวมอย่างพร้อมเพรียง | ||
![]() | ||
ตางาม | ||
![]() | ||
รักษาไว้ซึ่งเผ่าพันธุ์ | ||
![]() | ||
กระทำให้เกิดเกียรติยศ | ||
![]() | ||
เชื้อสายเจ้าแห่งทรัพย์ | ||
![]() | ||
สายทอง | ||
![]() | ||
เส้นทางแห่งชัยชนะ | ||
![]() | ||
สมบัติ | ||
![]() | ||
[ปารีณาภรณ์] | ||
![]() | ||
ความรักที่ทำให้เกิดอำนาจ | ||
![]() | ||
การกระทำที่สำเร็จและประเสริฐ | ||
![]() | ||
กระทำเครื่องประดับสำเร็จ | ||
![]() | ||
การวิจารณ์ | ||
![]() | ||
[ปารีณาภรณ์] | ||
![]() | ||
แก้วอันประเสริฐ | ||
![]() | ||
[ปรีณาพร] | ||
![]() | ||
[ปรีณา] | ||
![]() | ||
[วิทวัส] | ||
![]() | ||
[นพธเรศ] | ||
![]() | ||
![]() | ||
รุ่งเรืองในทรัพย์ | ||
![]() | ||
![]() | ||
![]() | ||
![]() | ||
หลักการตั้งชื่อที่ดี | ||
1.ชื่อนั้นต้องมีความหมายที่ดี
2.ชื่อนั้นต้องไม่มีอักษรกาลกิณีในชื่อ และพยายามเลี่ยงตัวอักษรที่เป็นอุตสาหะนำหน้าชื่อเนื่องจากว่าผู้ใช้ชื่อนี้มักเหน็ดเหนื่อย อาจารย์บางท่านได้ห้ามการใช้อักษรวรรคศรีมากเกินไป ด้วยเหตุผลว่าคนที่มีอักษรวรรคศรีมากจะประสบโชคลาภในเรื่องทรัพย์สินเงินทองในใจคิดแต่เรื่องเงินทองทำให้การกระทำการใดๆคิดแต่เรืองเงินทองจนขาดสติยับยั้งชั่งใจทำผิดพลาดได้ง่าย ท่านให้ใช้วรรคอักษรมนตรีนำหน้าชื่อแทนอักษรวรรคศรี ด้วยเหตุผลอันน่าฟังว่า สตรีต้องมีคู่ครองที่ดีเป็นหัวหน้าครอบครัวสร้างความสุขให้แก่ครอบครัว และใช่อักษรวรรคบริวารผสมในชื่อเพื่อที่จะให้บุตรและบริวารเชื่อฟังและเป็นคนดี ซึ่งล้วนแล้วเป็นความคิดเห็นที่ดี 3. ชื่อนั้นต้องมีต้องมีอักษรอยู่ในตำแหน่งที่ดีในตุ๊กตาไขนาม เพราะตุ๊กตาไขนามนั้นจะพยากรณ์ชื่อนั้นๆว่าจะมีวิถีการดำเนินชีวิตไปตามช่วงอายุต่างๆว่าดำเนินไปเช่นใดหากใช้ชื่อนั้น เพราะชื่อเดียวกันอาจจะดีสำหรับบุคคลในปีจุลศักราชหนึ่งแต่ไม่ดีสำหรับปีจุลศักราชหนึ่ง เช่นชื่ออภิสิทธิ์ คนหนึ่งอาจจะเป็นนายกรัฐมนตรี แต่อีกคนอาจจะทำงานรับจ้างแบกหามก็เป็นได้ 4.เลขศาสตร์ เป็นวิชาว่าด้วยตัวเลขอักษรต่างๆโหราจารย์ได้ใช้ตัวเลขในการแทนค่าเพื่อที่จะหาผลรวมของเลขเหล่านั้น แล้วให้ความหมายของตัวเลขแต่ละค่า ชื่อที่ดีนั้นผลรวมของเลขศาสตร์ทั้งชื่อและนามสกุลต้องรวมแล้วต้องได้ค่าเลขศาสตร์ที่ดีที่สุดทั้งคู่ การที่ชื่อตัวได้เลขศาสตร์ที่ดีไม่เพียงพอต้องพิจารณาผลรวมของนามสกุลร่วมด้วย ส่วนเลขศาสตร์นามสกุลเราแก้ไขอะไรไม่ได้มากนักนอกจากเปลี่ยนนามสกุลซึ่งไม่ขอแนะนำ 5.อายตนะ ๖ เป็นวิชาการตั้งชื่อด้วยโหราศาสตร์มอญโบราณ และเอามาพิจารณาในการตั้งชื่อได้ควรเลือกเอาค่าตัวเลขอายตนะ ๖ ที่ดี ไม่ควรเอาค่าอายตนะ ๖ ที่ไม่ดีมาตั้งชื่อ หากเลี่ยงไม่ได้ก็ไม่พิจารณาได้ในส่วนนี้แต่ทางที่ดีควรหาค่าอายตนะ ๖ ที่ดี |