![]() | ||
ความหมาย | ||
---|---|---|
ผู้มีความรู้แตกฉาน | ||
![]() | ||
![]() | ||
สุกใส วูบวาบ | ||
![]() | ||
[นันทกาญจน์] | ||
![]() | ||
ผู้ปราศจากความทุกข์แล้ว | ||
![]() | ||
[พิรยา] | ||
![]() | ||
ผู้กล้าหาญตลอดไป | ||
![]() | ||
[นันทวัฒน์] | ||
![]() | ||
ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่อันประเสริฐ | ||
![]() | ||
ความงามด้านศิลปะ | ||
![]() | ||
นักปราชญ์ผู้เป็นที่รัก เป็นที่รักของนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
ทรงไว้ซึ่งความยินดี | ||
![]() | ||
รักษาความประเสริฐ | ||
![]() | ||
[ปนัสยา] | ||
![]() | ||
ความดีที่น่ายินดี | ||
![]() | ||
ชัยชนะอันเป็นที่รัก | ||
![]() | ||
เทวดาผู้เจริญ | ||
![]() | ||
ต้นกล้วยไม้ | ||
![]() | ||
![]() | ||
คิดเพิ่ม | ||
![]() | ||
ผู้สร้างความดี | ||
![]() | ||
ชอบไม้เถา | ||
![]() | ||
[รุ่งทิวา] | ||
![]() | ||
เจริญด้วยทรัพย์สมบัติและกำลัง | ||
![]() | ||
หญิงผู้มีความรู้ | ||
![]() | ||
พระราชา | ||
![]() | ||
นักปราชญ์ที่เกล้าผมเป็นมวย | ||
![]() | ||
เลือกเพชร คัดเพชร | ||
![]() | ||
ทหารเรือที่ประจำการอยู่ในทะเล | ||
![]() | ||
[ชนิตา] | ||
![]() | ||
ลูกสาวที่มีค่าดั่งทองคำ ลูกสาวที่ประเสริฐ | ||
![]() | ||
เดือนยี่ | ||
![]() | ||
มูลเหตุแห่งความดี | ||
![]() | ||
ที่รักของนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
แบบแผนที่วางไว้เป็นแนวปฏิบัติหรือดําเนินการ | ||
![]() | ||
[นิลธารา] | ||
![]() | ||
นักปราชญ์ของแผ่นดิน | ||
![]() | ||
สายน้ำ | ||
![]() | ||
![]() | ||
ผู้ให้ทรัพย์,สายน้ำแห่งทรัพย์ หรือ ทรัพย์ที่ไหลมาต่อเนื่องไม่ขาดสาย | ||
![]() | ||
แก้วมีค่ายามเช้า | ||
![]() | ||
แสงจากสายฟ้า | ||
![]() | ||
เจริญในคำสรรเสริญ | ||
![]() | ||
อำนาจอันเป็นเหตุแห่งความเจริญ | ||
![]() | ||
[ณัฏฐ์พัฒน์] | ||
![]() | ||
เชื้อสายนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
หมุนเวียน | ||
![]() | ||
![]() | ||
ข้อความสําคัญของเรื่องที่แยกหยิบยกขึ้นพิจารณา | ||
![]() | ||
ดวงแก้วแห่งความพินาศ ไม่ควรนำมาตั้งชื่อ [วิไลรัตน์] | ||
![]() | ||
ยิ่งใหญ่ในการรบ | ||
![]() | ||
[บรรหาร] | ||
![]() | ||
[ปิยวรรณ] | ||
![]() | ||
เชื้อสายที่มีชื่อเสียง | ||
![]() | ||
ดวงตาพระอาทิตย์ | ||
![]() | ||
[ณัฐนภา] | ||
![]() | ||
[ชญานี] | ||
![]() | ||
![]() | ||
[ณัชภัคสรณ์] | ||
![]() | ||
[พิพัฒน์] | ||
![]() | ||
วงดาว | ||
![]() | ||
วัยแรก อายุไม่เกิน ๒๐ ปี | ||
![]() | ||
[ทฤฒมน] | ||
![]() | ||
เว้น, หยุด, หมดคราว, สิ้นคราว [วายุ] | ||
![]() | ||
แสงแวววาวบนท้องฟ้า | ||
![]() | ||
ผู้เจริญแล้ว | ||
![]() | ||
ผู้มีความน่ารักเสมอ | ||
![]() | ||
หญิงผู้มีโชค | ||
![]() | ||
สตรีที่เคารพ | ||
![]() | ||
[พรรวิภา] | ||
![]() | ||
![]() | ||
ผิวพรรณงามดุจเขียนขึ้นมา | ||
![]() | ||
เชื้อสายผู้เจริญ | ||
![]() | ||
มีใจอันประเสริฐ | ||
![]() | ||
ผู้เกิดมาพร้อมกับความยิ่งใหญ่อันน่ายินดียิ่ง | ||
![]() | ||
[อภิชญานันท์] | ||
![]() | ||
สีน้ำ | ||
![]() | ||
หญิงเพื่อที่เกิดมาเพื่อความรู้ | ||
![]() | ||
[สุวีณา] | ||
![]() | ||
น่าบันเทิงใจ น่าสนุก พึงใจ งาม | ||
![]() | ||
เจ้าแห่งสายน้ำ | ||
![]() | ||
![]() | ||
การทรงไว้ซึ่งท้องฟ้า | ||
![]() | ||
ผู้กล้าหาญตลอดกาล | ||
![]() | ||
มีความสุขอันประเสริฐ | ||
![]() | ||
น้ำหนักของพลอย(กระรัต) | ||
![]() | ||
ชฎาที่ต่างออกไป | ||
![]() | ||
เชื้อสายผู้ประเสริฐ | ||
![]() | ||
ประเสริฐมาก | ||
![]() | ||
การเกิดของเครื่องเครื่องประดับแห่งนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
ราชาแห่งนาค | ||
![]() | ||
[ไพฑูรย์] | ||
![]() | ||
[ปณิตา] | ||
![]() | ||
ิ[อาทิตยา] | ||
![]() | ||
สตรีผู้มีสกุลอันประเสริฐ | ||
![]() | ||
ชื่อพระศิวะ | ||
![]() | ||
ผู้กระทำให้เกิดฝน(พระพิรุณ) | ||
![]() | ||
[พัฒนา] | ||
![]() | ||
ยี่สิบคู่ | ||
![]() | ||
ธิดาผู้มีผิวงาม | ||
![]() | ||
หลักการตั้งชื่อที่ดี | ||
1.ชื่อนั้นต้องมีความหมายที่ดี
2.ชื่อนั้นต้องไม่มีอักษรกาลกิณีในชื่อ และพยายามเลี่ยงตัวอักษรที่เป็นอุตสาหะนำหน้าชื่อเนื่องจากว่าผู้ใช้ชื่อนี้มักเหน็ดเหนื่อย อาจารย์บางท่านได้ห้ามการใช้อักษรวรรคศรีมากเกินไป ด้วยเหตุผลว่าคนที่มีอักษรวรรคศรีมากจะประสบโชคลาภในเรื่องทรัพย์สินเงินทองในใจคิดแต่เรื่องเงินทองทำให้การกระทำการใดๆคิดแต่เรืองเงินทองจนขาดสติยับยั้งชั่งใจทำผิดพลาดได้ง่าย ท่านให้ใช้วรรคอักษรมนตรีนำหน้าชื่อแทนอักษรวรรคศรี ด้วยเหตุผลอันน่าฟังว่า สตรีต้องมีคู่ครองที่ดีเป็นหัวหน้าครอบครัวสร้างความสุขให้แก่ครอบครัว และใช่อักษรวรรคบริวารผสมในชื่อเพื่อที่จะให้บุตรและบริวารเชื่อฟังและเป็นคนดี ซึ่งล้วนแล้วเป็นความคิดเห็นที่ดี 3. ชื่อนั้นต้องมีต้องมีอักษรอยู่ในตำแหน่งที่ดีในตุ๊กตาไขนาม เพราะตุ๊กตาไขนามนั้นจะพยากรณ์ชื่อนั้นๆว่าจะมีวิถีการดำเนินชีวิตไปตามช่วงอายุต่างๆว่าดำเนินไปเช่นใดหากใช้ชื่อนั้น เพราะชื่อเดียวกันอาจจะดีสำหรับบุคคลในปีจุลศักราชหนึ่งแต่ไม่ดีสำหรับปีจุลศักราชหนึ่ง เช่นชื่ออภิสิทธิ์ คนหนึ่งอาจจะเป็นนายกรัฐมนตรี แต่อีกคนอาจจะทำงานรับจ้างแบกหามก็เป็นได้ 4.เลขศาสตร์ เป็นวิชาว่าด้วยตัวเลขอักษรต่างๆโหราจารย์ได้ใช้ตัวเลขในการแทนค่าเพื่อที่จะหาผลรวมของเลขเหล่านั้น แล้วให้ความหมายของตัวเลขแต่ละค่า ชื่อที่ดีนั้นผลรวมของเลขศาสตร์ทั้งชื่อและนามสกุลต้องรวมแล้วต้องได้ค่าเลขศาสตร์ที่ดีที่สุดทั้งคู่ การที่ชื่อตัวได้เลขศาสตร์ที่ดีไม่เพียงพอต้องพิจารณาผลรวมของนามสกุลร่วมด้วย ส่วนเลขศาสตร์นามสกุลเราแก้ไขอะไรไม่ได้มากนักนอกจากเปลี่ยนนามสกุลซึ่งไม่ขอแนะนำ 5.อายตนะ ๖ เป็นวิชาการตั้งชื่อด้วยโหราศาสตร์มอญโบราณ และเอามาพิจารณาในการตั้งชื่อได้ควรเลือกเอาค่าตัวเลขอายตนะ ๖ ที่ดี ไม่ควรเอาค่าอายตนะ ๖ ที่ไม่ดีมาตั้งชื่อ หากเลี่ยงไม่ได้ก็ไม่พิจารณาได้ในส่วนนี้แต่ทางที่ดีควรหาค่าอายตนะ ๖ ที่ดี |