![]() | ||
ความหมาย | ||
---|---|---|
รอยยิ้มน้อยๆ | ||
![]() | ||
ดวงแก้วที่งดงาม | ||
![]() | ||
ประนมมือคล้ายดอกบัว, ไหว้ | ||
![]() | ||
[ปนิดา] | ||
![]() | ||
[ภาวินี] | ||
![]() | ||
[มณฑิราภรณ์] | ||
![]() | ||
[เพ็ญนเรศ] | ||
![]() | ||
น้องสาวผู้บริสุทธิ์ | ||
![]() | ||
เทวดาผู้ประเสริฐ | ||
![]() | ||
ความเป็นเลิศอันประเสริฐ | ||
![]() | ||
ทองที่ออกจากเตาหลอม | ||
![]() | ||
ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน | ||
![]() | ||
ผู้มีความรู้เป็นอาวุธ | ||
![]() | ||
[ปณิตา] | ||
![]() | ||
ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน | ||
![]() | ||
ใจดี | ||
![]() | ||
ความเห็นอันประเสริฐ | ||
![]() | ||
ไหว้, แสดงอาการเคารพ | ||
![]() | ||
กำลังอันประเสริฐ | ||
![]() | ||
[ประคอง] | ||
![]() | ||
ผู้เป็นคนแรกของวงศ์ตระกูล | ||
![]() | ||
[ศยา] | ||
![]() | ||
มีความเจริญดุจเพชร | ||
![]() | ||
[วงศ์] | ||
![]() | ||
สีผิวของนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
แบบอย่างของความรู้ที่บริสุทธิ์ | ||
![]() | ||
ผู้เกิดมาเพื่อความรู้และทรัพย์ | ||
![]() | ||
แสงแก้วมณี | ||
![]() | ||
[ธนัทชานนท์] | ||
![]() | ||
สิ่งที่นำมาซึ่งความเจริญในทางพุทธศาสนา มีทั้งสิ้น ๓๘ ประการ | ||
![]() | ||
พระราชาผู้รู้แจ้ง | ||
![]() | ||
กำลังแห่งผู้รู้แจ้ง | ||
![]() | ||
ผู้รู้สิ่งประเสริฐ | ||
![]() | ||
[อัมพิกา] | ||
![]() | ||
[ธนกฤช] | ||
![]() | ||
ความเจริญสูงสุด | ||
![]() | ||
วันของหญิงงาม | ||
![]() | ||
ทรงไว้ซึ่งน้ำ | ||
![]() | ||
พรมของผู้รู้แจ้ง | ||
![]() | ||
พรหมผู้รู้แจ้ง ผู้รู้แจ้งในความเจริญ | ||
![]() | ||
เพชรของพระเจ้าแผ่นดิน | ||
![]() | ||
ปิ่นของพระเจ้าแผ่นดิน | ||
![]() | ||
พระราชวัง | ||
![]() | ||
เกิดจากบุญ | ||
![]() | ||
[ธนดล] | ||
![]() | ||
[ฐิติวรรณ] | ||
![]() | ||
แก้วทอง | ||
![]() | ||
[สาวิตรี] | ||
![]() | ||
เป็นหนึ่งในการรบ | ||
![]() | ||
ตลาดดอกไม้ | ||
![]() | ||
[รุจิภาส] | ||
![]() | ||
ชนะด้วยความดี | ||
![]() | ||
[ณัฏฐ์ชา] | ||
![]() | ||
เงียบสงบเป็นพิเศษ | ||
![]() | ||
ความเจริญอันประเสริฐ | ||
![]() | ||
ประเสริฐ | ||
![]() | ||
เทวดาผู้กล้าหาญ กล้าหาญดั่งเทวดา | ||
![]() | ||
นักปราชญ์ผู้รอบรู้ | ||
![]() | ||
พอใจ | ||
![]() | ||
ผู้รุ่งเรืองที่ประเสริฐ | ||
![]() | ||
มีความงามดุจนักปราชญ์ผู้ประเสริฐ | ||
![]() | ||
ความสุขที่ดำรงอยู่ | ||
![]() | ||
ผู้ทําหน้าที่ให้ความคุ้มครองป้องกัน | ||
![]() | ||
[ภาสกร] | ||
![]() | ||
[พรชลิต] | ||
![]() | ||
[พรชลิต] | ||
![]() | ||
มีความรู้มาก | ||
![]() | ||
แก้มที่มีค่า | ||
![]() | ||
![]() | ||
[วราภรณ์] | ||
![]() | ||
[เนตรญาณี] | ||
![]() | ||
[ธนาภัค] | ||
![]() | ||
![]() | ||
รุ่งเรืองในความกล้าหาญ | ||
![]() | ||
[นฤมนัส] | ||
![]() | ||
การเชื่อมต่อความรู้ | ||
![]() | ||
ดวงแก้วของคนผู้เป็นใหญ่ | ||
![]() | ||
ความรู้ที่ว่าด้วยทรัพย์ | ||
![]() | ||
ทองและไข่มุก | ||
![]() | ||
ฟองสัตว์ | ||
![]() | ||
ความบริสุทธิ์อันประเสริฐ | ||
![]() | ||
เจ้าปัญญา | ||
![]() | ||
[ณัฏฐณิชา] | ||
![]() | ||
สำเร็จในทรัพย์ | ||
![]() | ||
[พัชณัฏฐ์] | ||
![]() | ||
[ณัฐภรณ์] | ||
![]() | ||
ทรัพย์จากแผ่นดิน | ||
![]() | ||
ลูกสาวผู้เปรียบดั่งนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
หลั่งไหลไม่ขาดสาย มีมากต่อเนื่องกันไม่ขาดสาย | ||
![]() | ||
[วรงค์กร] | ||
![]() | ||
[รัตติกาล] | ||
![]() | ||
ผู้หลุดพ้น | ||
![]() | ||
โชคอันบริสุทธิ์ | ||
![]() | ||
ที่สุดแห่งความรู้ | ||
![]() | ||
วันแห่งความเจริญ | ||
![]() | ||
หญิงผู้มีผิวพรรณดี | ||
![]() | ||
[ศิิริอัญญา] | ||
![]() | ||
[พรรณมณี] | ||
![]() | ||
[ศรุตาภา] | ||
![]() | ||
ความเป็นใหญ่ | ||
![]() | ||
หลักการตั้งชื่อที่ดี | ||
1.ชื่อนั้นต้องมีความหมายที่ดี
2.ชื่อนั้นต้องไม่มีอักษรกาลกิณีในชื่อ และพยายามเลี่ยงตัวอักษรที่เป็นอุตสาหะนำหน้าชื่อเนื่องจากว่าผู้ใช้ชื่อนี้มักเหน็ดเหนื่อย อาจารย์บางท่านได้ห้ามการใช้อักษรวรรคศรีมากเกินไป ด้วยเหตุผลว่าคนที่มีอักษรวรรคศรีมากจะประสบโชคลาภในเรื่องทรัพย์สินเงินทองในใจคิดแต่เรื่องเงินทองทำให้การกระทำการใดๆคิดแต่เรืองเงินทองจนขาดสติยับยั้งชั่งใจทำผิดพลาดได้ง่าย ท่านให้ใช้วรรคอักษรมนตรีนำหน้าชื่อแทนอักษรวรรคศรี ด้วยเหตุผลอันน่าฟังว่า สตรีต้องมีคู่ครองที่ดีเป็นหัวหน้าครอบครัวสร้างความสุขให้แก่ครอบครัว และใช่อักษรวรรคบริวารผสมในชื่อเพื่อที่จะให้บุตรและบริวารเชื่อฟังและเป็นคนดี ซึ่งล้วนแล้วเป็นความคิดเห็นที่ดี 3. ชื่อนั้นต้องมีต้องมีอักษรอยู่ในตำแหน่งที่ดีในตุ๊กตาไขนาม เพราะตุ๊กตาไขนามนั้นจะพยากรณ์ชื่อนั้นๆว่าจะมีวิถีการดำเนินชีวิตไปตามช่วงอายุต่างๆว่าดำเนินไปเช่นใดหากใช้ชื่อนั้น เพราะชื่อเดียวกันอาจจะดีสำหรับบุคคลในปีจุลศักราชหนึ่งแต่ไม่ดีสำหรับปีจุลศักราชหนึ่ง เช่นชื่ออภิสิทธิ์ คนหนึ่งอาจจะเป็นนายกรัฐมนตรี แต่อีกคนอาจจะทำงานรับจ้างแบกหามก็เป็นได้ 4.เลขศาสตร์ เป็นวิชาว่าด้วยตัวเลขอักษรต่างๆโหราจารย์ได้ใช้ตัวเลขในการแทนค่าเพื่อที่จะหาผลรวมของเลขเหล่านั้น แล้วให้ความหมายของตัวเลขแต่ละค่า ชื่อที่ดีนั้นผลรวมของเลขศาสตร์ทั้งชื่อและนามสกุลต้องรวมแล้วต้องได้ค่าเลขศาสตร์ที่ดีที่สุดทั้งคู่ การที่ชื่อตัวได้เลขศาสตร์ที่ดีไม่เพียงพอต้องพิจารณาผลรวมของนามสกุลร่วมด้วย ส่วนเลขศาสตร์นามสกุลเราแก้ไขอะไรไม่ได้มากนักนอกจากเปลี่ยนนามสกุลซึ่งไม่ขอแนะนำ 5.อายตนะ ๖ เป็นวิชาการตั้งชื่อด้วยโหราศาสตร์มอญโบราณ และเอามาพิจารณาในการตั้งชื่อได้ควรเลือกเอาค่าตัวเลขอายตนะ ๖ ที่ดี ไม่ควรเอาค่าอายตนะ ๖ ที่ไม่ดีมาตั้งชื่อ หากเลี่ยงไม่ได้ก็ไม่พิจารณาได้ในส่วนนี้แต่ทางที่ดีควรหาค่าอายตนะ ๖ ที่ดี |