![]() | ||
ความหมาย | ||
---|---|---|
การเกิดของเทวดา | ||
![]() | ||
[พัชรี] | ||
![]() | ||
ผู้เจริญในสิ่งอันเป็นที่รัก | ||
![]() | ||
มีความรู้ดั่งเพชร | ||
![]() | ||
[สุภาภรณ์] | ||
![]() | ||
[บุพบท] | ||
![]() | ||
นักปราชญ์ผู้มีความรู้อันดีงาม | ||
![]() | ||
ความดีของเทวดา | ||
![]() | ||
ลักษณะที่งดงาม, ลักษณะที่เป็นมงคล | ||
![]() | ||
รัศมีของเทวดา | ||
![]() | ||
ดวงใจที่ประเสริฐดุจดวงแก้ว | ||
![]() | ||
มีฤทธิ์อำนาจมาก | ||
![]() | ||
[พิศวาส] | ||
![]() | ||
[มุจลินท์] | ||
![]() | ||
ผู้ค้ำจุนความรัก | ||
![]() | ||
[สุพัตรา] | ||
![]() | ||
รักมาก | ||
![]() | ||
[เสาวรส] | ||
![]() | ||
![]() | ||
แวววาว, ผี, ภูติ | ||
![]() | ||
เชื้อสายผู้มีความเอื้อเฟื้อ | ||
![]() | ||
[สุทธินี] | ||
![]() | ||
ผู้ริเริ่ม, ผู้ก่อตั้ง | ||
![]() | ||
พลอยทับทิมขนาดเล็ก | ||
![]() | ||
ลักษณะภูมิประเทศที่ปรากฏเห็นตามธรรมชาติ | ||
![]() | ||
แบบอย่างของความรัก | ||
![]() | ||
[อนิรุทธิ์] | ||
![]() | ||
มีความเชื่อเสมอ | ||
![]() | ||
ผู้ได้รับการอบรมและมีคุณค่ายิ่ง | ||
![]() | ||
เชื้อสายที่มีค่ายิ่ง | ||
![]() | ||
ผู้ได้รับการอบรมและมีคุณค่ายิ่ง | ||
![]() | ||
ตาที่มีชื่อเสียง->[ศรุตา] | ||
![]() | ||
แต่งงาน | ||
![]() | ||
ผู้ของผู้ชนะ | ||
![]() | ||
[ณัฐวุฒิ] | ||
![]() | ||
ผู้เกิดมากล้าหาญ | ||
![]() | ||
ผู้มีอำนาจในการรบ | ||
![]() | ||
[นรินทร] | ||
![]() | ||
![]() | ||
[อัญนภัส] | ||
![]() | ||
อำนาจแห่งทรัพย์ | ||
![]() | ||
ใฝ่ใจตั้งมั่นในความรู้ | ||
![]() | ||
ข้อความของนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
ทรัพย์ที่ดี | ||
![]() | ||
ผู้มีหนังสือเป็นที่พึ่ง | ||
![]() | ||
ทำตาม ประพฤติตาม | ||
![]() | ||
พระวิรุณผู้ส่งเสริมแสงสว่าง | ||
![]() | ||
ยาของนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
[พัชราพร] | ||
![]() | ||
[นภณัฐ] | ||
![]() | ||
ทรงไว้ซึ่งความรุ่งเรือง | ||
![]() | ||
ผู้สร้างความเจริญ | ||
![]() | ||
ผู้มีความสุข | ||
![]() | ||
หญิงทั้ง ๙ | ||
![]() | ||
ยศข้าราชการในราชสำนัก | ||
![]() | ||
เชื้อสายผู้กล้าหาญ | ||
![]() | ||
ไพเราะ | ||
![]() | ||
เชื้อสายพระอาทิตย์, เชื้อสายผู้รุ่งเรืองดุจพระอาทิตย์ | ||
![]() | ||
เรียกจํานวน ๑๐ ร้อย | ||
![]() | ||
เครือเถาที่งดงาม | ||
![]() | ||
ประเสริฐ | ||
![]() | ||
![]() | ||
[พิพัฒนธร] | ||
![]() | ||
[พิพัฒนกร] | ||
![]() | ||
การขีดเขียน | ||
![]() | ||
[สาวิตรี] | ||
![]() | ||
[ณัฏฐ์นรินทร์] | ||
![]() | ||
[พรรณราย] | ||
![]() | ||
เจ้าแห่งความงาม | ||
![]() | ||
ไม่มีสิ้นสุด, มากล้น | ||
![]() | ||
สายรุ้งและพระอาทิตย์ | ||
![]() | ||
วันที่ดีกว่า | ||
![]() | ||
[พิชาญาณี] | ||
![]() | ||
ผู้ทำให้เกิดความรู้และความงาม | ||
![]() | ||
บ่อเกิดของนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
ผู้มีใจรักการร่ายรำ | ||
![]() | ||
เทวดา | ||
![]() | ||
ผู้ชนะในสิ่งที่เจริญ | ||
![]() | ||
![]() | ||
ความงดงามที่น่ายินดี | ||
![]() | ||
อยู่ประจำ,สถิตอยู่,มั่นคง | ||
![]() | ||
สิ่งที่ให้รสหวานผลิตจากพืชบางชนิด | ||
![]() | ||
[พีราวุธ] | ||
![]() | ||
ความดีที่เป็นแบบอย่าง | ||
![]() | ||
เครื่องประดับที่แสดงอำนาจ | ||
![]() | ||
![]() | ||
ป่าที่รุ่งเรือง | ||
![]() | ||
[ณสิชา] | ||
![]() | ||
ทรงไว้ซึ่งความมั่นคงของแสงสวาง | ||
![]() | ||
ตรึงใจ | ||
![]() | ||
ผ้าแพรและพลอย | ||
![]() | ||
![]() | ||
ธงที่มีอำนาจของพระราชา | ||
![]() | ||
ที่ประทับพระนารายณ์ | ||
![]() | ||
[นัยน์ตา] | ||
![]() | ||
ผู้สร้างตระกูล | ||
![]() | ||
ทรงไว้ซึ่งทรัพย์ | ||
![]() | ||
หน้าที่อันสำคัญยิ่ง | ||
![]() | ||
[วิวัฒน์ชัย] | ||
![]() | ||
[วัลลภา] | ||
![]() | ||
หลักการตั้งชื่อที่ดี | ||
1.ชื่อนั้นต้องมีความหมายที่ดี
2.ชื่อนั้นต้องไม่มีอักษรกาลกิณีในชื่อ และพยายามเลี่ยงตัวอักษรที่เป็นอุตสาหะนำหน้าชื่อเนื่องจากว่าผู้ใช้ชื่อนี้มักเหน็ดเหนื่อย อาจารย์บางท่านได้ห้ามการใช้อักษรวรรคศรีมากเกินไป ด้วยเหตุผลว่าคนที่มีอักษรวรรคศรีมากจะประสบโชคลาภในเรื่องทรัพย์สินเงินทองในใจคิดแต่เรื่องเงินทองทำให้การกระทำการใดๆคิดแต่เรืองเงินทองจนขาดสติยับยั้งชั่งใจทำผิดพลาดได้ง่าย ท่านให้ใช้วรรคอักษรมนตรีนำหน้าชื่อแทนอักษรวรรคศรี ด้วยเหตุผลอันน่าฟังว่า สตรีต้องมีคู่ครองที่ดีเป็นหัวหน้าครอบครัวสร้างความสุขให้แก่ครอบครัว และใช่อักษรวรรคบริวารผสมในชื่อเพื่อที่จะให้บุตรและบริวารเชื่อฟังและเป็นคนดี ซึ่งล้วนแล้วเป็นความคิดเห็นที่ดี 3. ชื่อนั้นต้องมีต้องมีอักษรอยู่ในตำแหน่งที่ดีในตุ๊กตาไขนาม เพราะตุ๊กตาไขนามนั้นจะพยากรณ์ชื่อนั้นๆว่าจะมีวิถีการดำเนินชีวิตไปตามช่วงอายุต่างๆว่าดำเนินไปเช่นใดหากใช้ชื่อนั้น เพราะชื่อเดียวกันอาจจะดีสำหรับบุคคลในปีจุลศักราชหนึ่งแต่ไม่ดีสำหรับปีจุลศักราชหนึ่ง เช่นชื่ออภิสิทธิ์ คนหนึ่งอาจจะเป็นนายกรัฐมนตรี แต่อีกคนอาจจะทำงานรับจ้างแบกหามก็เป็นได้ 4.เลขศาสตร์ เป็นวิชาว่าด้วยตัวเลขอักษรต่างๆโหราจารย์ได้ใช้ตัวเลขในการแทนค่าเพื่อที่จะหาผลรวมของเลขเหล่านั้น แล้วให้ความหมายของตัวเลขแต่ละค่า ชื่อที่ดีนั้นผลรวมของเลขศาสตร์ทั้งชื่อและนามสกุลต้องรวมแล้วต้องได้ค่าเลขศาสตร์ที่ดีที่สุดทั้งคู่ การที่ชื่อตัวได้เลขศาสตร์ที่ดีไม่เพียงพอต้องพิจารณาผลรวมของนามสกุลร่วมด้วย ส่วนเลขศาสตร์นามสกุลเราแก้ไขอะไรไม่ได้มากนักนอกจากเปลี่ยนนามสกุลซึ่งไม่ขอแนะนำ 5.อายตนะ ๖ เป็นวิชาการตั้งชื่อด้วยโหราศาสตร์มอญโบราณ และเอามาพิจารณาในการตั้งชื่อได้ควรเลือกเอาค่าตัวเลขอายตนะ ๖ ที่ดี ไม่ควรเอาค่าอายตนะ ๖ ที่ไม่ดีมาตั้งชื่อ หากเลี่ยงไม่ได้ก็ไม่พิจารณาได้ในส่วนนี้แต่ทางที่ดีควรหาค่าอายตนะ ๖ ที่ดี |