![]() | ||
ความหมาย | ||
---|---|---|
ผู้มีความเจริญเหมือนนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
สม่ำเสมอ | ||
![]() | ||
สร้างสิ่งงดงาม | ||
![]() | ||
[วิริยะภรณ์] | ||
![]() | ||
[สุวรัญญ์] | ||
![]() | ||
![]() | ||
เจ้าแห่งความเอื้อเฟื้อ | ||
![]() | ||
ชนชั้นนักปราชญ์ ผู้มีผิวพรรณงามดุจนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
[นทิตา] | ||
![]() | ||
น่ารักยิ่ง,ประเสริฐยิ่ง | ||
![]() | ||
ซื่อตรง, งดงาม | ||
![]() | ||
การกระทำอำนาจ | ||
![]() | ||
ทิศตะวันตก | ||
![]() | ||
ผู้เป็นใหญ่ในความประเสริฐและมีโชคดี | ||
![]() | ||
ชัยชนะของลูกชายผู้กล้าหาญ,ชัยชนะอันเกิดจากความกล้าหาญ | ||
![]() | ||
ทรัพย์ในป่า | ||
![]() | ||
ผู้กระทำในสิ่งที่เจริญ | ||
![]() | ||
[วีรวุฒิ] | ||
![]() | ||
ความประพฤติที่เป็นธรรม | ||
![]() | ||
รัศมีของศรแห่งโชค | ||
![]() | ||
หญิงผู้มีปัญญา | ||
![]() | ||
ผู้นำพาเพชร | ||
![]() | ||
พบปะ | ||
![]() | ||
ความผูกพันที่มั่นคง | ||
![]() | ||
[ภูธเนศ] | ||
![]() | ||
[ศนิศา] | ||
![]() | ||
ผู้ที่ประเสริฐเหมือนน้ำ | ||
![]() | ||
![]() | ||
พระจันทร์ทอง | ||
![]() | ||
ผู้ที่มีใจประเสริฐ | ||
![]() | ||
เชื้อสายผู้มีขุมทรัพย์ | ||
![]() | ||
![]() | ||
เชื้อสายของผู้กล้าหาญ | ||
![]() | ||
ปรากฏชัด | ||
![]() | ||
[ณภัทราวรรณ] | ||
![]() | ||
เชื้อสายของผู้รู้ในสิ่งประเสริฐ | ||
![]() | ||
[ไปรยาพร] | ||
![]() | ||
ผู้ที่พระนารายณ์คุ้มครองรักษา | ||
![]() | ||
[อินทิรา] | ||
![]() | ||
ผู้รักษาสิ่งที่นำมาซึ่งความเจริญ | ||
![]() | ||
รถใหม่ | ||
![]() | ||
[อาทิมา] | ||
![]() | ||
ดอกบัว | ||
![]() | ||
ผู้สร้างแผ่นดิน | ||
![]() | ||
[ณชาดา] | ||
![]() | ||
รัศมีของผู้ที่เกิดมาเพื่อความรู้ | ||
![]() | ||
งดงามยิ่ง | ||
![]() | ||
[พลินทร์] | ||
![]() | ||
พระราชาผู้เป็นใหญ่ | ||
![]() | ||
วันอังคาร,ถ่าน | ||
![]() | ||
ใจที่มีความสุข | ||
![]() | ||
![]() | ||
ความยินดีที่เข้ามาเรื่อยๆ | ||
![]() | ||
ยิ่งใหญ่ด้วยความรู้, มีความรู้มาก | ||
![]() | ||
ลูกสาวคนแรก | ||
![]() | ||
![]() | ||
ทรัพย์ของนักปราชญ์ที่อยู่ในกรอบ | ||
![]() | ||
ผู้ประเสริฐด้วยปัญญา | ||
![]() | ||
ผู้มีความกล้าหาญ | ||
![]() | ||
[ธรรมปกรณ์] | ||
![]() | ||
ผู้ประเสริฐด้วยความยินดี | ||
![]() | ||
นักปราชญ์ | ||
![]() | ||
นักปราชญ์ | ||
![]() | ||
ผู้เต็มไปด้วยความรู้และมีความกล้าหาญ | ||
![]() | ||
[บุณยวีร์] | ||
![]() | ||
ผู้ประเสริฐแห่งแผ่นดิน | ||
![]() | ||
[สุธิ] | ||
![]() | ||
ผู้มีชัยชนะอันยิ่งใหญ่ | ||
![]() | ||
ผู้มีผิวพรรณงาม | ||
![]() | ||
ผู้เกิดมาบริสุทธิ์ | ||
![]() | ||
พระสงฆ์ที่ประเสริฐ | ||
![]() | ||
ผู้มีความเจริญ | ||
![]() | ||
ผู้ดีกว่าผู้อื่นในเรื่องความกล้าหาญ | ||
![]() | ||
[อรรณพ] | ||
![]() | ||
แสงสว่างแห่งบุญ,แสงสว่างแห่งความดี | ||
![]() | ||
[ณัทฤทัย] | ||
![]() | ||
![]() | ||
![]() | ||
ผู้มีความรู้อันประเสริฐ | ||
![]() | ||
![]() | ||
[สริญญา] | ||
![]() | ||
![]() | ||
พวกพ้องที่เกี่ยวเนื่องกันมาในตระกูล | ||
![]() | ||
ผู้ผูกพันยิ่งกับความรอบรู้ | ||
![]() | ||
ร่ำร้อง, ร้องสำออย, ร้องไห้อย่างเด็ก | ||
![]() | ||
[สุพีร์] | ||
![]() | ||
หญิงผู้เป็นที่หนึ่ง | ||
![]() | ||
ความสำเร็จของนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
พระราชาผู้มีโชคและเป็นใหญ่ในแผ่นดิน | ||
![]() | ||
อำนาจของความรู้ | ||
![]() | ||
ผู้แสดงความเคารพในพลัง | ||
![]() | ||
[วชิรพงษ์] | ||
![]() | ||
[ปาจรีย์] | ||
![]() | ||
[ปฏิญญา] | ||
![]() | ||
[ณัฏฐวัฒน์] | ||
![]() | ||
[นิติชญาณ์] | ||
![]() | ||
หมอ | ||
![]() | ||
ผู้อยู่ด้วยความหวัง | ||
![]() | ||
หญิงสาว | ||
![]() | ||
พระอินทร์ | ||
![]() | ||
หลักการตั้งชื่อที่ดี | ||
1.ชื่อนั้นต้องมีความหมายที่ดี
2.ชื่อนั้นต้องไม่มีอักษรกาลกิณีในชื่อ และพยายามเลี่ยงตัวอักษรที่เป็นอุตสาหะนำหน้าชื่อเนื่องจากว่าผู้ใช้ชื่อนี้มักเหน็ดเหนื่อย อาจารย์บางท่านได้ห้ามการใช้อักษรวรรคศรีมากเกินไป ด้วยเหตุผลว่าคนที่มีอักษรวรรคศรีมากจะประสบโชคลาภในเรื่องทรัพย์สินเงินทองในใจคิดแต่เรื่องเงินทองทำให้การกระทำการใดๆคิดแต่เรืองเงินทองจนขาดสติยับยั้งชั่งใจทำผิดพลาดได้ง่าย ท่านให้ใช้วรรคอักษรมนตรีนำหน้าชื่อแทนอักษรวรรคศรี ด้วยเหตุผลอันน่าฟังว่า สตรีต้องมีคู่ครองที่ดีเป็นหัวหน้าครอบครัวสร้างความสุขให้แก่ครอบครัว และใช่อักษรวรรคบริวารผสมในชื่อเพื่อที่จะให้บุตรและบริวารเชื่อฟังและเป็นคนดี ซึ่งล้วนแล้วเป็นความคิดเห็นที่ดี 3. ชื่อนั้นต้องมีต้องมีอักษรอยู่ในตำแหน่งที่ดีในตุ๊กตาไขนาม เพราะตุ๊กตาไขนามนั้นจะพยากรณ์ชื่อนั้นๆว่าจะมีวิถีการดำเนินชีวิตไปตามช่วงอายุต่างๆว่าดำเนินไปเช่นใดหากใช้ชื่อนั้น เพราะชื่อเดียวกันอาจจะดีสำหรับบุคคลในปีจุลศักราชหนึ่งแต่ไม่ดีสำหรับปีจุลศักราชหนึ่ง เช่นชื่ออภิสิทธิ์ คนหนึ่งอาจจะเป็นนายกรัฐมนตรี แต่อีกคนอาจจะทำงานรับจ้างแบกหามก็เป็นได้ 4.เลขศาสตร์ เป็นวิชาว่าด้วยตัวเลขอักษรต่างๆโหราจารย์ได้ใช้ตัวเลขในการแทนค่าเพื่อที่จะหาผลรวมของเลขเหล่านั้น แล้วให้ความหมายของตัวเลขแต่ละค่า ชื่อที่ดีนั้นผลรวมของเลขศาสตร์ทั้งชื่อและนามสกุลต้องรวมแล้วต้องได้ค่าเลขศาสตร์ที่ดีที่สุดทั้งคู่ การที่ชื่อตัวได้เลขศาสตร์ที่ดีไม่เพียงพอต้องพิจารณาผลรวมของนามสกุลร่วมด้วย ส่วนเลขศาสตร์นามสกุลเราแก้ไขอะไรไม่ได้มากนักนอกจากเปลี่ยนนามสกุลซึ่งไม่ขอแนะนำ 5.อายตนะ ๖ เป็นวิชาการตั้งชื่อด้วยโหราศาสตร์มอญโบราณ และเอามาพิจารณาในการตั้งชื่อได้ควรเลือกเอาค่าตัวเลขอายตนะ ๖ ที่ดี ไม่ควรเอาค่าอายตนะ ๖ ที่ไม่ดีมาตั้งชื่อ หากเลี่ยงไม่ได้ก็ไม่พิจารณาได้ในส่วนนี้แต่ทางที่ดีควรหาค่าอายตนะ ๖ ที่ดี |