![]() | ||
ความหมาย | ||
---|---|---|
ปัญญาของนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
ไพเราะและมีเสน่ห์ | ||
![]() | ||
[วิโชติ] | ||
![]() | ||
ไพเราะตลอดกาล | ||
![]() | ||
ผู้เจริญและประเสริฐ | ||
![]() | ||
นักปราชญ์ | ||
![]() | ||
อำนาจที่ผูกพัน | ||
![]() | ||
สวรรค์ | ||
![]() | ||
ผู้มีผิวพรรณอันเป็นที่รัก | ||
![]() | ||
ผู้เจริญในความผูกพัน | ||
![]() | ||
[พิรดา] | ||
![]() | ||
[พิทวัส] | ||
![]() | ||
มีเสน่ห์มาก | ||
![]() | ||
ผู้เจริญในน้ำ | ||
![]() | ||
ส่วนร้อย | ||
![]() | ||
แสงสว่างยามค่ำคืน | ||
![]() | ||
![]() | ||
[พิทยา] | ||
![]() | ||
พิณของนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
ความรู้อันประเสริฐ | ||
![]() | ||
ใจ | ||
![]() | ||
[มาวินท์] | ||
![]() | ||
พลอยของเชื้อสายผู้เป็นบ่าว | ||
![]() | ||
โชคจากฟ้า | ||
![]() | ||
ที่ตั้งของนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
เหมือนทองคำ | ||
![]() | ||
[จุฑาธิป] | ||
![]() | ||
[สุรางคนางค์] | ||
![]() | ||
[ปริวรรต] | ||
![]() | ||
สาวที่งดงามเหมือนพระจันทร์ | ||
![]() | ||
ความรู้ที่ประเสริฐ | ||
![]() | ||
[นุชนาถ] | ||
![]() | ||
ความผูกพันที่ประเสริฐ | ||
![]() | ||
ผู้เป็นใหญ่ด้วยศร | ||
![]() | ||
นางงามซึ่งเป็นที่รัก | ||
![]() | ||
สิ่งประเสริฐที่มั่นคงของเทวดา | ||
![]() | ||
[มันดาลา] | ||
![]() | ||
ผู้มีอำนาจ | ||
![]() | ||
ลอยตามลม, ถูกลมพัด | ||
![]() | ||
มีความเจริญและประเสริฐ | ||
![]() | ||
เชื้อสายของผู้ประสบความสำเร็จ | ||
![]() | ||
สวยงามและประเสริฐ | ||
![]() | ||
[ปภาวริน] | ||
![]() | ||
หมู่, พวก, เหล่า, กลุ่ม ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง | ||
![]() | ||
พระอิศวรผู้รอบรู้ | ||
![]() | ||
ผู้ค้ำจุนนักรบผู้มีความชำนาญ | ||
![]() | ||
ผู้ยินดีในเพชรที่ประเสริฐ | ||
![]() | ||
[นันท์ณภัค] | ||
![]() | ||
ผู้ยินดีในความรู้ยามค่ำคืน | ||
![]() | ||
ส่งเสริมความสบาย | ||
![]() | ||
![]() | ||
ความชนะ ชัยชนะ | ||
![]() | ||
ผู้ยินดีในความรู้ | ||
![]() | ||
ดวงแก้วที่ประเสริฐ | ||
![]() | ||
[วรรณิกา] | ||
![]() | ||
ชื่อไม้เลื้อยชนิดหนึ่ง,ชื่อส้มสายพันธุ์หนึ่ง | ||
![]() | ||
ารเปลี่ยนแปลงระบบ | ||
![]() | ||
พี่สาว,น้องสาว, หญิงผู้มีโชค | ||
![]() | ||
มีความประเสริฐร่วมกัน | ||
![]() | ||
ผู้ทรงไว้ซึ่งความเป็นใหญ่ในสิ่งประเสริฐ | ||
![]() | ||
กลิ่นหอมของเทวดา | ||
![]() | ||
กฎหมายสูงสุดของประเทศ | ||
![]() | ||
ดอกไม้ | ||
![]() | ||
รบด้วยอำนาจวิเศษ | ||
![]() | ||
[สอนไชย] | ||
![]() | ||
ผู้ยินดีในเพชร | ||
![]() | ||
กริชของแผ่นดิน | ||
![]() | ||
วันที่พระจันทร์เต็มดวง(ขึ้น ๑๕ ค่ำ) เดือน ๖ | ||
![]() | ||
[ภูริพัฒน์] | ||
![]() | ||
[ภัทริยา] | ||
![]() | ||
ให้ความรู้ | ||
![]() | ||
[วรรณิศา] | ||
![]() | ||
[วรรณิศา] | ||
![]() | ||
การล่อลวง, มารยา, เล่ห์เหลี่ยม, ความคดโกง | ||
![]() | ||
กล้าหาญ | ||
![]() | ||
มีความกล้าหาญอันประเสริฐ | ||
![]() | ||
พลังแห่งการให้ความรู้ | ||
![]() | ||
![]() | ||
งานหนังสือ งานประพันธ์ | ||
![]() | ||
อำนาจของพระราชา | ||
![]() | ||
ผู้ยินดีในหนังสือที่ทรงคุณค่า | ||
![]() | ||
[รักษิณ] | ||
![]() | ||
ตกแต่ง | ||
![]() | ||
ผู้เจริญที่สุด | ||
![]() | ||
คุ้มครอง | ||
![]() | ||
ฟ้าที่คงอยู่ตลอดไป | ||
![]() | ||
วันที่สวยงาม | ||
![]() | ||
เวลาที่ครองราชสมบัติของพระมหากษัตริย์องค์หนึ่ง ๆ | ||
![]() | ||
เล็ก น้อย | ||
![]() | ||
ผู้เจริญและประเสริฐ | ||
![]() | ||
[วรรณรตา] | ||
![]() | ||
[บัญชา] | ||
![]() | ||
อำนาจที่น่าเกรงขาม | ||
![]() | ||
นอนหลับ | ||
![]() | ||
กึกก้อง,อึกทึก | ||
![]() | ||
ป่าแก้ว | ||
![]() | ||
เหมือน | ||
![]() | ||
[ภัทร์นรินทร์] | ||
![]() | ||
[ณัฏฐิกานต์] | ||
![]() | ||
[อัจฉราภรณ์] | ||
![]() | ||
หลักการตั้งชื่อที่ดี | ||
1.ชื่อนั้นต้องมีความหมายที่ดี
2.ชื่อนั้นต้องไม่มีอักษรกาลกิณีในชื่อ และพยายามเลี่ยงตัวอักษรที่เป็นอุตสาหะนำหน้าชื่อเนื่องจากว่าผู้ใช้ชื่อนี้มักเหน็ดเหนื่อย อาจารย์บางท่านได้ห้ามการใช้อักษรวรรคศรีมากเกินไป ด้วยเหตุผลว่าคนที่มีอักษรวรรคศรีมากจะประสบโชคลาภในเรื่องทรัพย์สินเงินทองในใจคิดแต่เรื่องเงินทองทำให้การกระทำการใดๆคิดแต่เรืองเงินทองจนขาดสติยับยั้งชั่งใจทำผิดพลาดได้ง่าย ท่านให้ใช้วรรคอักษรมนตรีนำหน้าชื่อแทนอักษรวรรคศรี ด้วยเหตุผลอันน่าฟังว่า สตรีต้องมีคู่ครองที่ดีเป็นหัวหน้าครอบครัวสร้างความสุขให้แก่ครอบครัว และใช่อักษรวรรคบริวารผสมในชื่อเพื่อที่จะให้บุตรและบริวารเชื่อฟังและเป็นคนดี ซึ่งล้วนแล้วเป็นความคิดเห็นที่ดี 3. ชื่อนั้นต้องมีต้องมีอักษรอยู่ในตำแหน่งที่ดีในตุ๊กตาไขนาม เพราะตุ๊กตาไขนามนั้นจะพยากรณ์ชื่อนั้นๆว่าจะมีวิถีการดำเนินชีวิตไปตามช่วงอายุต่างๆว่าดำเนินไปเช่นใดหากใช้ชื่อนั้น เพราะชื่อเดียวกันอาจจะดีสำหรับบุคคลในปีจุลศักราชหนึ่งแต่ไม่ดีสำหรับปีจุลศักราชหนึ่ง เช่นชื่ออภิสิทธิ์ คนหนึ่งอาจจะเป็นนายกรัฐมนตรี แต่อีกคนอาจจะทำงานรับจ้างแบกหามก็เป็นได้ 4.เลขศาสตร์ เป็นวิชาว่าด้วยตัวเลขอักษรต่างๆโหราจารย์ได้ใช้ตัวเลขในการแทนค่าเพื่อที่จะหาผลรวมของเลขเหล่านั้น แล้วให้ความหมายของตัวเลขแต่ละค่า ชื่อที่ดีนั้นผลรวมของเลขศาสตร์ทั้งชื่อและนามสกุลต้องรวมแล้วต้องได้ค่าเลขศาสตร์ที่ดีที่สุดทั้งคู่ การที่ชื่อตัวได้เลขศาสตร์ที่ดีไม่เพียงพอต้องพิจารณาผลรวมของนามสกุลร่วมด้วย ส่วนเลขศาสตร์นามสกุลเราแก้ไขอะไรไม่ได้มากนักนอกจากเปลี่ยนนามสกุลซึ่งไม่ขอแนะนำ 5.อายตนะ ๖ เป็นวิชาการตั้งชื่อด้วยโหราศาสตร์มอญโบราณ และเอามาพิจารณาในการตั้งชื่อได้ควรเลือกเอาค่าตัวเลขอายตนะ ๖ ที่ดี ไม่ควรเอาค่าอายตนะ ๖ ที่ไม่ดีมาตั้งชื่อ หากเลี่ยงไม่ได้ก็ไม่พิจารณาได้ในส่วนนี้แต่ทางที่ดีควรหาค่าอายตนะ ๖ ที่ดี |