![]() | ||
ความหมาย | ||
---|---|---|
![]() | ||
ทรงไว้ ชูไว้ | ||
![]() | ||
บัวขาบ | ||
![]() | ||
![]() | ||
กระจ่างแจ้ง โชติช่วง | ||
![]() | ||
เสื้อผ้าประดับเพชร | ||
![]() | ||
การเคลื่อนไปของเทวดา | ||
![]() | ||
ทรงไว้ซึ่งทรัพย์สมบัติ | ||
![]() | ||
ผู้มีผิวพรรณดีดั่งมาจากสวรรค์ทั้ง ๙ ชั้น | ||
![]() | ||
หมอรักษาโรค | ||
![]() | ||
ความปราถนาของพระจันทร์ | ||
![]() | ||
มีดวงตาอันประเสริฐ ตางาม | ||
![]() | ||
อำนาจของพระราชา | ||
![]() | ||
ผู้รู้อันเป็นที่พึ่ง | ||
![]() | ||
![]() | ||
![]() | ||
เชื้อสายผู้ประเสริฐ | ||
![]() | ||
รัศมีของความดี | ||
![]() | ||
![]() | ||
![]() | ||
ผู้เป็นเลิศในเรื่องทรัพย์ | ||
![]() | ||
ความดีอันประเสริฐ | ||
![]() | ||
[ปัณณวรินทร์] | ||
![]() | ||
ชีวิตและจิตใจ | ||
![]() | ||
ปัญญา | ||
![]() | ||
น้องหญิงผู้เป็นใหญ่ในคนเดินทาง | ||
![]() | ||
เจริญในการงาน | ||
![]() | ||
[ภัคภิญญา] | ||
![]() | ||
ทรัพย์สมบัติ | ||
![]() | ||
สิ่งที่ได้ยิน กิตติศัพท์ | ||
![]() | ||
การรบอย่างสร้างสรรค์ | ||
![]() | ||
ผู้ถือวชิระ คือ พระอินทร์ | ||
![]() | ||
มีความรู้อันกล้าหาญ | ||
![]() | ||
ผู้มีชื่อเสียงในเวลากลางคืน | ||
![]() | ||
ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานดุจเพชร | ||
![]() | ||
ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่งที่มีค่าดุจทองคำ | ||
![]() | ||
ผู้เป็นที่พึ่งอันวิเศษ | ||
![]() | ||
สมบัติของนักปราชญ์ | ||
![]() | ||
การกระทำที่เป็นมงคล | ||
![]() | ||
ผู้เป็นใหญ่ในเมือง | ||
![]() | ||
คนของแผ่นดิน | ||
![]() | ||
หญิงที่ดีงาม | ||
![]() | ||
ยิ่งใหญ่มาก | ||
![]() | ||
แบบอย่างที่น่ายินดี | ||
![]() | ||
นําไปหรือนำมา | ||
![]() | ||
![]() | ||
ผู้มีความรู้เป็นที่หนึ่ง | ||
![]() | ||
ลูกสาวผู้สวยงาม | ||
![]() | ||
รักชื่อพระอาทิตย์ | ||
![]() | ||
ความปราถนาอันประเสริฐ | ||
![]() | ||
พระราชาผู้เป็นใหญ่ | ||
![]() | ||
ผู้ฝึกมาดีแล้ว | ||
![]() | ||
แสงที่สุกใส | ||
![]() | ||
![]() | ||
มากมาย, ไม่มีที่สิ้นสุด | ||
![]() | ||
เชื่อเสียงอันเป็นมงคล | ||
![]() | ||
เป็นใหญ่ เป็นไทแก่ตัว | ||
![]() | ||
หยดลง | ||
![]() | ||
ที่สุดในระยะเวลาอันยาวนาน | ||
![]() | ||
ลูกสาวผู้เจริญ ลูกสาวผู้ดีงาม | ||
![]() | ||
ดอกบัวอันเป็นเครื่องนำทาง | ||
![]() | ||
ผู้ทรงธรรม | ||
![]() | ||
เชื้อสายของวงศ์ตระกูล | ||
![]() | ||
เทวดา | ||
![]() | ||
ความอิ่มใจตลอดกาล | ||
![]() | ||
อำนาจแห่งธงชัย | ||
![]() | ||
ลูกชาย, ผู้เกิดแต่อก | ||
![]() | ||
![]() | ||
ไม่รับสินบน | ||
![]() | ||
ผู้มีความเจริญดุจดวงอาทิตย์ | ||
![]() | ||
ท้องฟ้ายามค่ำคืน | ||
![]() | ||
ดูอย่างละเอียดและรุ่งเรือง | ||
![]() | ||
ปราชญ์ที่ดี,นักปราชญ์ผู้ประเสริฐ | ||
![]() | ||
ปราชญ์ที่ดี | ||
![]() | ||
![]() | ||
ผู้มีที่พึ่งและมีความสำเร็จด้วยทรัพย์ | ||
![]() | ||
อนาคตอันประเสริฐ ผู้มีกาลข้างหน้าอันเลิศล้ำ | ||
![]() | ||
[พัชรินทร์] | ||
![]() | ||
พลอยที่บริสุทธิ์ | ||
![]() | ||
กองทหาร, กองทัพ, หมู่พลทหาร | ||
![]() | ||
[ธันยภัสร์] | ||
![]() | ||
ดอกเหมย | ||
![]() | ||
[นวพร] | ||
![]() | ||
มีชื่อเสียงในเรื่องทรัพย์ | ||
![]() | ||
![]() | ||
![]() | ||
มีนิลมาก | ||
![]() | ||
หญิงผู้มีความเจริญ | ||
![]() | ||
ผู้มีทรัพย์อันประเสริฐ | ||
![]() | ||
แบบอย่าง | ||
![]() | ||
![]() | ||
นักปราชญ์ผู้ยินดี | ||
![]() | ||
เป็นใหญ่ยิ่ง หรือก้าวไปข้างหน้า | ||
![]() | ||
แม่น้ำทั้ง ๓ สาย | ||
![]() | ||
ผิวงาม | ||
![]() | ||
แสงสว่างยามเช้า | ||
![]() | ||
[วันวิสาข์] | ||
![]() | ||
ที่นั่ง เครื่องปูรองนั่ง (ใช้เฉพาะพระภิกษุสามเณร) | ||
![]() | ||
ผู้เป็นดั่งดอกบัว | ||
![]() | ||
ผู้ที่มีความรู้ดุจเพชร | ||
![]() | ||
หลักการตั้งชื่อที่ดี | ||
1.ชื่อนั้นต้องมีความหมายที่ดี
2.ชื่อนั้นต้องไม่มีอักษรกาลกิณีในชื่อ และพยายามเลี่ยงตัวอักษรที่เป็นอุตสาหะนำหน้าชื่อเนื่องจากว่าผู้ใช้ชื่อนี้มักเหน็ดเหนื่อย อาจารย์บางท่านได้ห้ามการใช้อักษรวรรคศรีมากเกินไป ด้วยเหตุผลว่าคนที่มีอักษรวรรคศรีมากจะประสบโชคลาภในเรื่องทรัพย์สินเงินทองในใจคิดแต่เรื่องเงินทองทำให้การกระทำการใดๆคิดแต่เรืองเงินทองจนขาดสติยับยั้งชั่งใจทำผิดพลาดได้ง่าย ท่านให้ใช้วรรคอักษรมนตรีนำหน้าชื่อแทนอักษรวรรคศรี ด้วยเหตุผลอันน่าฟังว่า สตรีต้องมีคู่ครองที่ดีเป็นหัวหน้าครอบครัวสร้างความสุขให้แก่ครอบครัว และใช่อักษรวรรคบริวารผสมในชื่อเพื่อที่จะให้บุตรและบริวารเชื่อฟังและเป็นคนดี ซึ่งล้วนแล้วเป็นความคิดเห็นที่ดี 3. ชื่อนั้นต้องมีต้องมีอักษรอยู่ในตำแหน่งที่ดีในตุ๊กตาไขนาม เพราะตุ๊กตาไขนามนั้นจะพยากรณ์ชื่อนั้นๆว่าจะมีวิถีการดำเนินชีวิตไปตามช่วงอายุต่างๆว่าดำเนินไปเช่นใดหากใช้ชื่อนั้น เพราะชื่อเดียวกันอาจจะดีสำหรับบุคคลในปีจุลศักราชหนึ่งแต่ไม่ดีสำหรับปีจุลศักราชหนึ่ง เช่นชื่ออภิสิทธิ์ คนหนึ่งอาจจะเป็นนายกรัฐมนตรี แต่อีกคนอาจจะทำงานรับจ้างแบกหามก็เป็นได้ 4.เลขศาสตร์ เป็นวิชาว่าด้วยตัวเลขอักษรต่างๆโหราจารย์ได้ใช้ตัวเลขในการแทนค่าเพื่อที่จะหาผลรวมของเลขเหล่านั้น แล้วให้ความหมายของตัวเลขแต่ละค่า ชื่อที่ดีนั้นผลรวมของเลขศาสตร์ทั้งชื่อและนามสกุลต้องรวมแล้วต้องได้ค่าเลขศาสตร์ที่ดีที่สุดทั้งคู่ การที่ชื่อตัวได้เลขศาสตร์ที่ดีไม่เพียงพอต้องพิจารณาผลรวมของนามสกุลร่วมด้วย ส่วนเลขศาสตร์นามสกุลเราแก้ไขอะไรไม่ได้มากนักนอกจากเปลี่ยนนามสกุลซึ่งไม่ขอแนะนำ 5.อายตนะ ๖ เป็นวิชาการตั้งชื่อด้วยโหราศาสตร์มอญโบราณ และเอามาพิจารณาในการตั้งชื่อได้ควรเลือกเอาค่าตัวเลขอายตนะ ๖ ที่ดี ไม่ควรเอาค่าอายตนะ ๖ ที่ไม่ดีมาตั้งชื่อ หากเลี่ยงไม่ได้ก็ไม่พิจารณาได้ในส่วนนี้แต่ทางที่ดีควรหาค่าอายตนะ ๖ ที่ดี |